การคัดเลือกแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายกากมันสำปะหลัง และกากตะกอนเยื่อกระดาษ Screening of effective bacteria in cassava waste and paper sludge degradation

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ชณัฐ วงษ์ซีวะสกุล
สิรินภา ช่วงโอภาส

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อคัดเลือก แบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายกากมันสำปะหลัง จากอุตสาหกรรมการผลิตเอทานอลและ กากตะกอนเยื่อกระดาษจากอุตสาหกรรม กระดาษ โดยการคัดแยกแบคทีเรียในอาหารที่จำเพาะ ทดสอบอัตราส่วนความกว้างของโซนใส ต่อความกว้างของโคโลนี ศึกษากิจกรรมการ ย่อยโดยเอนไซม์อะไมเลสและเซลลูเลสที่ เกี่ยวข้องกับการย่อยสลายและการจัดจำแนก แบคทีเรีย ผลการทดสอบพบว่าแบคทีเรียรหัส CE1 มีค่าความกว้างของโซนใสต่อความกว้างของ โคโลนีสูงสุดเท่ากับ 4.83 และมีค่าการผลิตน้ำตาลรีดิวซ์ 689.74 ไมโครโมลต่อมิลลิลิตร ในอาหาร ทมี่กีากตะกอน ETP2A เปน็ substrate ในขณะที่ แบคทีเรียรหัส SS4 มีค่าการผลิตน้ำตาลรีดิวซ์สูง ทสี่ดุคอื 745.80 ไมโครโมลตอ่มลิลลิติร ในอาหาร ที่มีกากตะกอน ETP2 เป็น substrate แบคทีเรีย เหล่านี้ถูกจัดจำแนกได้เป็น Staphylococcus kloosii และ Bacillus megaterium ตามลำดับ การคัดเลือกแบคทีเรียที่มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายกากมันสำปะหลัง และกากตะกอนเยื่อกระดาษ Screening of effective bacteria in cassava waste and paper sludge degradation งานวิจัยนี้ชี้ชัดว่าแบคทีเรียที่คัดแยกได้ สามารถ ใช้ในการทำปุ๋ยหมักจากกากตะกอนเยื่อกระดาษ และพัฒนาไปสู่การผลิตหัวเชื้อได้


The aim of this research was to screen bacteria that can be able to degrading cassava waste from ethanol industry and paper sludge from paper industry in specific medium. The ratio of clear zone width per colony width and the degradation activities by amylase and cellulase had been tested. The result showed that bacterium CE1 had given the highest ratio of clear zone width per colony width at 4.83. The reducing-sugar production was 689.740 µmol/ml in medium that using ETP2A paper sludge as substrate. While bacterium SS4 had given the highest reducing-sugar production at 745.79 µmol/ml in medium that using ETP2 paper sludge as substrate. These bacteria had been identified as Staphylococcus kloosii and Bacillus megaterium, respectively. This result indicated that isolated bacteria be able to make compost from paper sludge and developing those bacteria to produce inoculum. 

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

บท
บทความวิจัย