การใช้สาร Forchlorfenuron และ Naphthalenacetic acid เพิ่มขนาดผลแก้วมังกรนอกฤดู | The Use of Forchlorfenuron and Naphthalenacetic Acid on Fruit Size in Off-Season Dragon Fruit

Main Article Content

ธนากร บุญกล่ำ
ศุภธิดา อับดุลลากาซิม
ธีร์ หะวานนท์
ภาสันต์ ศารทูลทัต

Abstract

        The off-season dragon fruit with standard size and quality is marketable demand. Certain plant regulators are able to enlarge fruit size in many fruit crops. To reveal how off-season dragon fruit size respond to forchlorfenuron (CPPU) and naphthaleneacetic acid (NAA), this research was conducted on the ‘White flesh’ dragon fruit grown in Nakhon Pathom (13.985464 N, 99.942144 E) in November(off-season flowering). Developing from artificial flower induction, the young fruits at the age of 7 days after flowering were sprayed with 20 mg/l CPPU, 200 mg/l NAA or 20 mg/l CPPU mixed with 200 mg/l NAA while the non-sprayed fruit being as a control. The fruits harvested at 40-47 days after flowering showed that all the treated fruits were 91-96 mm in fruit width (7-13% increase), 127-148 mm in fruit length (14-33% increase) and 588-623 g in fruit weight being 45-53% over the control fruit. However, the fruits treated with NAA, CPPU or NAA+CPPU were lower in TSS (12.83-13.46 °Brix), higher in TA (0.25-0.38%) and higher in firmness (0.92-1.23 kg/cm2) respectively compared to the control fruit (0.14% TA, 0.84 kg/cm2 firmness). The data indicated that CPPU (20 mg/l), NAA (200 mg/l) or CPPU (20 mg/l) + NAA (200 mg/l) can significantly enlarge the dragon fruit size with slightly negative effect to fruit quality.


 


บทคัดย่อ


        การผลิตแก้วมังกรนอกฤดูให้ได้ขนาดและคุณภาพทำให้ขายได้ราคาสูง สารควบคุมการเจริญเติบโตพืชบางชนิดสามารถทำให้ผลไม้บางชนิดมีขนาดเพิ่มขึ้นได้ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตอบสนองของขนาดผลแก้วมังกรต่อสาร Forchlorfenuron (CPPU) และ Naphthaleneacetic acid (NAA) ที่ผลิตนอกฤดู โดยชักนำต้นแก้วมังกรพันธุ์เนื้อขาวปลูกที่ จ.นครปฐม (13.985464 N, 99.942144 E) ให้ออกดอกนอกฤดูในช่วงเดือนพฤศจิกายน เมื่อดอกที่ชักนำพัฒนาเป็นผลอ่อนอายุ 7 วันหลังดอกบาน พ่นผลด้วยสาร CPPU 20 มก./ล., NAA 200 มก./ล. และ CPPU 20 มก./ล. + NAA 200 มก./ล. โดยชุดควบคุมคือไม่พ่นสาร เก็บเกี่ยวผลที่อายุ 40-47 วันหลังดอกบาน พบว่า ผลแก้วมังกรที่ได้รับสาร CPPU, NAA และ CPPU+NAA มีน้ำหนัก 588-623 ก. ซึ่งมากกว่าผลในชุดควบคุมถึง 45-53% มีความกว้างผล 91-96 มม. (เพิ่มขึ้น 7-13%) และความยาวผล 127-148 มม. (เพิ่มขึ้น 14-33%) มากกว่าชุดควบคุม แต่ผลที่ได้รับสาร CPPU และ NAA มีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (12.83-13.46 °Brix) ต่ำกว่าชุดควบคุม (15.37 °Brix) มีปริมาณกรดที่ไทเตรทได้ 0.25-0.38% และความแน่นเนื้อ 0.92-1.23 กก./ซม.2 สูงกว่าชุดควบคุม (กรด 0.14%, ความแน่นเนื้อ 0.84 กก./ซม.2) จากการทดลองชี้ให้เห็นว่าการใช้สาร CPPU (20 มก./ล.), NAA (200 มก./ล.) หรือ CPPU
(20 มก./ล.) + NAA (200 มก./ล.) สามารถช่วยเพิ่มขนาดผลแก้วมังกรได้อย่างดีโดยส่งผลต่อคุณภาพภายในเล็กน้อย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
สาขาพืชศาสตร์ (Plant Sciences )

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559). สถานการณ์การปลูกแก้วมังกรปี 2559 เรียงตามเนื้อที่ปลูกจากมากไปหาน้อยรายจังหวัด ปี 2559. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561 สืบค้นจาก http://www.agriinfo.doae.go.th/year60/plant/rortor/fruit1/dragonfruit.pdf.

กรรณิการ์ แก้วส่อง. (2552). การชักนำการออกดอกนอกฤดูของแก้วมังกรด้วยแสงฟลูออเรสเซนต์. ปัญหาพิเศษปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จริงแท้ ศิริพานิช. (2549). สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชวิศร์ สวัสดิสาร. (2550). อิทธิพลของความเข้มแสงช่วงแสง ไซโตไคนิน จิบเบอเรลลินและเอทิลีนที่มีผลต่อการออกดอกในการผลิตแก้วมังกรนอกฤดู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ธนัญญา หมาดหมัน, กัลยาณี สุวิทวัส, ศุภธิดา อับดุลลากาซิม, และภาสันต์ ศารทูลทัต. (2561). ผลของ Forchlorfenuron ต่อการพัฒนาผลและการสุกของกล้วยไข่. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 49(2), (พิเศษ), 345-348.

ธนากร บุญกล่ำ, บงกช เชียงเงิน, ธีร์ หะวานนท์, และภาสันต์ ศารทูลทัต. (2560). ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 11 วันที่ 3-4 สิงหาคม 2560. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ธนากร บุญกล่ำ, พฤหัส ศรีขวัญ, พิมพ์นิภา เพ็งช่าง, ธีร์ หะวานนท์, และภาสันต์ ศารทูลทัต. (2559). ผลของ GA3, NAA และ CPPU ต่อขนาดและคุณภาพผลแก้วมังกร‘แดงสยาม’. แก่นเกษตร, 44(1), (พิเศษ), 887-891.

นพดล จรัสสัมฤทธิ์. (2537). ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. กรุงเทพฯ: รั้วเขียว.
นริสา สอนศาสตร์. (2553). อิทธิพลของความเข้มแสงและไฮโดรเจนไซยาไมด์ที่มีผลต่อการออกดอกในการผลิตแก้วมังกรชนิดเวียดนามและชนิดไต้หวันนอกฤดู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประทีป กุณาศล. (2546). การเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพองุ่นโดยใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช. กรุงเทพฯ: กรมอาชีวศึกษา.

ปริญญา เชื้อชูชาติ. (2547). ศึกษาการเจริญเติบโตด้านลำต้น การออกดอกและพัฒนาการผลของแก้วมังกรพันธุ์เนื้อแดงเปลือกแดง (Hylocreus polyrhizus). ปัญหาพิเศษปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พีรเดช ทองอำไพ. (2537). ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ภาสันต์ ศารทูลทัต, ชวัลญา ขันทะชา, ธนากร บุญกล่ำ, ธีร์ หะวานนท์, และศุภธิดา อับดุลลากาซิม. (2561). อายุผลแก้วมังกรพันธุ์เนื้อแดงที่เหมาะสมต่อการเพิ่มขนาดผลด้วยสาร CPPU. ใน การประชุมวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 5 “วิจัยพืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพาเกษตรยั่งยืน” (น. 35). สงขลา: มหาวิทยาสงขลานครินทร์.

ภาสันต์ ศารทูลทัต, ธนัญญา หมาดหมัน, ศุภธิดา อับดุลลากาซิม, และกัลยาณี สุวิทวัส. (2559). ผลการใช้ Forchlorfenuron ที่เหมาะสมต่อการเพิ่มขนาดผลกล้วยไข่. วาสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, 3(1), (พิเศษ), 38-42.

ภาสันต์ ศารทูลทัต, ธนากร บุญกล่ำ, และ ธีร์ หะวานนท์. (2559). การชักนำดอกแก้วมังกรพันธุ์เนื้อขาวและแดงนอกฤดูด้วยสาร Forchlorfenuron. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, 3(1), 49-53.

ภาสันต์ ศารทูลทัต, พิมพ์นิภา เพ็งช่าง, ธนากร บุญกล่ำ, และกัลยาณี สุวิทวัส. (2558). ผลของ GA3 และ CPPU ต่อขนาดและคุณภาพผลสับปะรดพันธุ์ปัตตาเวีย. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 46(3), (พิเศษ), 161-164.

ภาสันต์ ศารทูลทัต, อัจฉริกา สินธพานินท์, ธนากร บุญกล่ำ, ธีร์ หะวานนท์, และศุภธิดา อับดุลลากาซิม. (2561). การเพิ่มขนาดผลแก้วมังกรพันธุ์เนื้อขาวและแดงด้วย CPPU ที่เหมาะสม. ใน การประชุมวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 5 “วิจัยพืชศาสตร์ก้าวหน้า พัฒนานวัตกรรม นำพาเกษตรยั่งยืน” (น. 34). สงขลา: มหาวิทยาสงขลานครินทร์.

รวี เสรฐภักดี, เพลินใจ ทองล้วน, ธีร์ หะวานนท์, ศุภธิดา อับดุลลากาซิม, และภาสันต์ ศารทูลทัต. (2558). การชักนำดอกแก้วมังกรนอกฤดูด้วยสาร CPPU. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 46(3), (พิเศษ), 849-852.

สถาพร ดียิ่ง. (2542). ฮอร์โมนพืช. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

Alam, S. M., & Khan, M. A. (2002). Fruit yield of tomato as affected by NAA spray. Asian Journal of Plant Sciences, 1(1), 24
A.O.A.C. (2002). Official Methods of Analysis. (p. 1826) Maryland: AOAC International

Alam, S. M., & Khan, M. A. (2002). Fruit yield of tomato as affected by NAA spray. Asian Journal of Plant Sciences, 1(1), 24

Andaya, C., M. A. J. Biol, N. J. B. d. l. Santos, A. J. E. Reterta., & E. Barclon (2013). Consumer sensory respons towerds perceived health benefits of antioxidants from dragon fruit. Asian Journal of Food and Agro-Industry, 6(3), 149-156.

Campbell, N.A., J.B. Reece, L.A. Urry, M.L. Cain, S.A. Wasserman, P.V. Minorsky., & R.B. Jackson (2008). Biology (8 th ed.). San Francisco: Pearson Benjamin Cummings.
Clark, H. E., & Kerns, K. R. (1942). Control of flowering with phytohormones. Science, 95(2473), 536-537.

Coombe, B. G. (1976). The development of fleshy fruits. Annual review of plant physiology, 27(1), 207-228.

Ezzahouani, A. (2000). Effects of forchlorfenuron (CPPU) and girdling on table grape cultivars" Perlette" and" Italia". OENO One, 34(2), 57-60.

Ismail, N. S. M., Ramli, N., Hani, N. M., & Meon, Z. (2012). Extraction and characterization of pectin from dragon fruit (Hylocereus polyrhizus) using various extraction conditi
ons. Sains Malaysiana, 41(1), 41-45.

Jayant, K., & Disha, T. (2013). Effect of different concentration of CPPU and fruit thinning on yield and quality of Kiwifruit cv. Allison and Hayward. Asian Journal of Horticulture, 8(2), 701-705.

Khaimov, A., & Mizrahi, Y. (2006). Effects of day-length, radiation, flower thinning and growth regulators on flowering of the vine cacti Hylocereus undatus and Selenicereus megalanthus. The Journal of Horticultural Science and Biotechnology, 81(3), 465-470.

Mariotti, L., Picciarelli, P., Lombardi, L., & Ceccarelli, N. (2011). Fruit-set and early fruit growth in tomato are associated with increases in indoleacetic acid, cytokinin, and bioactive gibberellin contents. Journal of Plant Growth Regulation, 30(4), 405-415.

Maroto, J. V., Miguel, A., López-Galarza, S., San Bautista, A., Pascual, B., Alagarda, J., & Guardiola, J. L. (2005). Parthenocarpic fruit set in triploid watermelon induced by CPPUand 2, 4-D applications. Plant growth regulation, 45(3), 209-213.

Maurya, S. K., Singh, B. K., Singh, A. K., Vani, V. M., & Singh, S. P. (2013). Varietal response of NAA on growth and yield of tomato (Lycopersicon esculentum Mill.). Environment and Ecology, 31(1A), 209-211.

National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards Ministry of Agriculture and Cooperatives (ACFS). (2018). DRAGON FRUIT TAS 25-2015. Retrieved December 20, 2018, from http://www.acfs.go.th/standard/download/eng/DRAGON-FRUIT-ENG.pdf.

Peacock, W. L. (2001). Grape Notes. Agricultural BLDG. California, USA: County Civic Center.
Petrásek, J., Mravec, J., Bouchard, R., Blakeslee, J. J., Abas, M., Seifertová, D., ... & Friml, J. (2006). PIN proteins perform a rate-limiting function in cellular auxin efflux. Science, 312(5775), 914-918.

Quan Yu, J., Li, Y., Qian, Y. R., & Zhu, Z. J. (2001). Cell division and cell enlargement in fruit of Lagenaria leucantha as influenced by pollination and plant growth substances. Plant Growth Regulation, 33(2), 117-122.

Serrani, J. C., Fos, M., Atarés, A., & García-Martínez, J. L. (2007). Effect of gibberellin and auxin on parthenocarpic fruit growth induction in the cv Micro-Tom of tomato. Journal of Plant Growth Regulation, 26(3), 211-221.

Sriamornsak, P. (2001). Pectin: The role in health. Journal of Silpakorn University, 21(22), 60-77.
Sun, Y., Hou, Z., Su, S., & Yuan, J. (2013). Effects of ABA, GA3 and NAA on fruit development and anthocyanin accumulation in blueberry. Journal of South China Agricultural University, 34(1), 6-11.

Talaadthai. (2018). "Dragon Fruit". Retrieved December 20, 2018, from https://talaadthai.
com/en/product-search/result?q=dragon%20
fruit.

Yıldırım, B., Yesiloglu, T., Incesu, M., Kamiloglu, M. U., Çimen, B., & Tamer, S. (2012). Effects of 2, 4-DP (2, 4-dichlorophenoxypropionic acid) plant growth regulator on fruit size and yield of Valencia oranges (Citrus sinensis Osb.). New Zealand Journal of Crop and Horticultural Science, 40(1), 55-64.

Zabadal, T. J., & Bukovac, M. J. (2006). Effect of CPPU on fruit development of selected seedless and seeded grape cultivars. HortScience, 41(1), 154-157