ความอุดมสมบูรณ์ของดินบนพื้นที่สูงสำหรับการปลูกข้าวของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และน่าน | Soil Fertility of Highland for Rice Cultivation of Ethnic Groups in Chiang Mai, Chiang Rai, Mae Hong Son and Nan

Main Article Content

สิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย
สุมาลี มีปัญญา
ศิลาวัน จันทรบุตร
จารุวี อันเซตา
อาทิตยา ยอดใจ
ศิริลักษณ์ ใจบุญทา
นงนุช ประดิษฐ์
ผกากานต์ ทองสมบุญ
สุทธกานต์ ใจกาวิล
พิชญ์นันท์ กังแฮ
วิสุทธิ์ กีปทอง

Abstract

        The purpose of this research was to evaluate the paddy soil fertility on highland of the Northern region of Thailand. The questionnaire was used as the tool to accumulate the research data. The sample groups were the community leaders, farmers, or the villagers who planted rice for their own consumption from 201 villages. The data was analyzed to find out the frequency, percentage, median, percentile, mean, minimum, maximum, standard deviation while the soil samples were taken for analysis. The results revealed that the paddy soil in Chiang Mai, Chiang Rai, Mae Hong Son and Nan showed strongly acidic (pH=5.39+0.73) and high level of organic matter (3.84+1.68%), available phosphorus (36.19+50.62 mg/kg) and exchangeable potassium (158.81+122.74 mg/kg). The 65.17% of soil texture was sandy clay loam. The median rice production yields in Chiang Mai, Chiang Rai, Mae Hong Son and Nan were 310, 300, 300 and 297 kg/rai, and the terrace paddy production yields were 450, 500, 400 and 450 kg/rai respectively.


 


บทคัดย่อ


        การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดินนาบนพื้นที่สูง โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้นำชุมชน เกษตรกร หรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการปลูกข้าวในครัวเรือน จำนวน 201 หมู่บ้าน วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน เปอร์เซ็นไทล์ เฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมทั้งได้เก็บตัวอย่างดินในแปลงนา ผลการทดลอง พบว่า สมบัติดินบางประการในพื้นที่ปลูกข้าวบนพื้นที่สูงของจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และน่าน มีค่าปฏิกิริยาของดินเป็นกรดจัด (pH = 5.39+0.73) ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในเกณฑ์สูง (3.84+1.68% 36.19+50.62 มก./กก. และ 158.81+122.74 มก./กก. ตามลำดับ) เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย (65.17%) โดยในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน และน่าน
ให้ผลผลิตมีค่ามัธยฐานของข้าวไร่เท่ากับ 310 300 300 และ 297 กก./ไร่ ตามลำดับ และข้าวนาที่สูงเท่ากับ 450 500 400 และ 450 กก./ไร่ ตามลำดับ

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
สาขาพืชศาสตร์ (Plant Sciences )

References

กรมการข้าว. (2553). เทคโนโลยีการทำนาขั้นบันไดบนพื้นที่สูง. (น. 82). กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว.

กองวิเคราะห์ดิน. (2540). คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีดินกับการวิเคราะห์ดินในห้องปฏิบัติการ. (น. 59). กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาที่ดิน.

ชัยฤทธิ์ ดำรงเกียรติ์. (2555). ข้าวไร่กับการสร้างความมั่นคงทางอาหารบนพื้นที่สูง. ใน รายงานการประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2. (น. 1-28). กรุงเทพฯ: โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด.

นงนุช ประดิษฐ์, ผกากานต์ ทองสมบุญ, ธีระวัช สุวรรณนวล, สุมาลี มีปัญญา, ศิลาวัน
จันทรบุตร, กาญจนา พิบูลย์, สุทธกานต์ ใจกาวิล, กุลชนา เกศสุวรรณ์, พันนิภา ยาใจ, อัญชลี ตาคำ, ไพโรจน์ โชตินิสากรณ์, อาทิตยา ยอดใจ, กัลยา บุญสง่า, ขนิษฐา คำวงศ์, ศิริลักษณ์ ใจบุญทา, กรสิริ ศรีนิล, และอุรัสยาน์ บูลย์ประมุข. (2560). ข้าวนาที่สูงสายพันธุ์ดีสำหรับกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงเพื่อความมั่นคงทางอาหาร. ใน เอกสารสัมมนาสรุปผลการดำเนินงานและใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ประจำปี 2560. (น. 79). กรุงเทพฯ: กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

พิชัย สุรพรไพบูลย์, พิกุล สุรพรไพบูลย์, สุนทร มีพอ, และสริตา ปิ่นมณี. (2558). การทดสอบผลผลิตพันธุ์ข้าวไร่ในพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงแม่จริม จังหวัดน่าน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23(5), 817-824.

ศิวะพงศ์ นฤบาล. (2554). การถ่ายทอดเทคโนโลยีการทํานาขั้นบันไดในพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงจังหวัดแม่ฮ่องสอน. ใน สัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง วันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2554. (น. 327-356). แพร่: โรงแรมนครแพร่ทาวเวอร์.

สถาบันวิจัยข้าว. (2547). คำแนะนำการใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน. (น. 41). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร

อภิวัฒน์ หาญธนพงศ์. (2553). การพัฒนาข้าวไร่สู่นาขั้นบันได. ใน การประชุมวิชาการข้าวเนื่องในโอกาสวันข้าวและชาวนาแห่งชาติ ปี 2553 วันที่ 3-4 มิถุนายน 2553. (น. 237-245). กรุงเทพฯ: โรงแรมอมารี แอร์พอร์ต.

Best, J. W. (1977). Research in Education (3rd ed.). (p. 384) New Jersey: Englewood Cliff.

Bray, R. H., & Kurtz, L. T. (1945). Determination of total, organic, and available forms of phosphorus in soils. Soil science, 59(1), 39-46.

Pratt, P.F. (1965). Potassium, In C.A. Black, (Eds.), Methods of Soil Analysis. (pp. 1022-1030). Madison: Wisconsin.

Walkley, A., & Black, I. A. (1934). An examination of the Degtjareff method for determining soil organic matter, and a proposed modification of the chromic acid titration method. Soil
science, 37(1), 29-38.

Yamane, T. (1973). Statistics an Introduction Analysis (3rd ed.). (p. 400). New York: Harper & Row.