การใช้ประโยชน์ของปุ๋ยอินทรีย์จากศูนย์ปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ต่อการเจริญเติบโตและการเพิ่มมวลชีวภาพของ ยูคาลิปตัสที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน Utilization of Organic Fertilizer from Central Waste Water Treatment of Saha Group Industrial Park on Growth and Increasing Biomass of Eucalyptus Planted in Kamphaeng Saen Soil Series

Main Article Content

เนติธร กรุณา
ชัยสิทธิ์ ทองจู
ธวัชชัย ิอินทร์บุญช่วย
กนกกร สินมา
สิรินภา ช่วงโอภาส
เกวลิน ศรีจันทร์
อัญธิชา พรมเมืองคุก
สุชาดา กรุณา
ศิริสุดา บุตรเพชร
ภูวดล แท่นทอง
ชาลินี คงสุด
ธรรมธวัช แสงงาม
ธีรยุทธ คล้ำชื่น

Abstract

          This investigation aimed to study the utilization of organic fertilizer (OF) from Central Waste Water Treatment of Saha Group Industrial Park on growth and increasing biomass of eucalyptus planted in Kamphaeng Saen soil series. The experimental design was arranged in Randomized Complete Block (RCBD) with 3 replications consisting of 10 treatments. The results showed that the application of OF-B of 500 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 500 kg/rai of the OF-B provided the highest of plant height, plant diameters and leaf greenness (SPAD reading) which was not significantly different from the application of OF-B of 1,000 kg/rai and the application of OF-D of 500 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 500 kg/rai. Furthermore, the application of OF-B of 500 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 500 kg/rai of the OF-B provided the highest of stems, branches, leaves and total-fresh biomass which was not significantly different from the application of OF-B of 1,000 kg/rai and the application of OF-D of 500 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 500 kg/rai. While the application of OF-B of 500 kg/rai in combination with chemical fertilizers containing all major elements equivalent to 500 kg/rai provided the highest of stems and total-dry biomass which was not significantly different from the application of OFB of 1,000 kg/rai.


 


บทคัดย่อ


          ศึกษาการใช้ประโยชน์ของปุ๋ยอินทรีย์จากศูนย์ปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ต่อการเจริญเติบโตและการเพิ่มมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD ทำซ้ำจำนวน 3 ครั้ง ประกอบด้วยตำรับทดลอง 10 ตำรับทดลอง ผลการศึกษา พบว่า การใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักในปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ มีผลให้ความสูงต้น เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น และค่าความเขียวของใบยูคาลิปตัสมากที่สุด ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 1,000 กก./ไร่ และการใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร D อัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักในปุ๋ยอินทรีย์สูตร D อัตรา 500 กก./ไร่ นอกจากนี้ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักในปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ มีผลให้มวลชีวภาพสดส่วนต้น ส่วนแขนง ส่วนใบ และมวลชีวภาพสดรวมของยูคาลิปตัสมากที่สุด ไม่แตกต่างจากการใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 1,000 กก./ไร่ และการใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร D อัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักในปุ๋ยอินทรีย์สูตร D อัตรา 500 กก./ไร่ (OFD500+IFOFD-500) ขณะที่การใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมีเทียบเท่าธาตุอาหารหลักในปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 500 กก./ไร่ มีผลให้มวลชีวภาพแห้งส่วนต้นและมวลชีวภาพแห้งรวมของยูคาลิปตัสมากที่สุด ไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยอินทรีย์สูตร B อัตรา 1,000 กก./ไร่

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
สาขาพืชศาสตร์ (Plant Sciences )

References

กรมวิชาการเกษตร. (2553). คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. (2558). คู่มือปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ทางดิน ระบบโสตทัศนูปกรณ์. นครปฐม: มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.

จีรนันท์ นิติเศรษฐ์, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, จุฑามาศ ร่มแก้ว, ธรรมธวัช แสงงาม, และธีร ยุทธ คล้ำชื่น. (2561). ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากศูนย์ปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ต่อการเจริญเติบโตและการเพิ่มมวลชีวภาพของกระถินเทพา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 1(2), 54-65.

จันจิรา แสงสีเหลือง, ชัยสิทธิ์ ทองจู, จุฑามาศ ร่มแก้ว และเกรียงไกร แก้วตระกูลพงษ์. (2552). ผลของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ปลูกในชุดดิน

กำแพงแสน. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 6 สาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ. (น. 19-28). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ชัยสิทธิ์ ทองจู, กานต์ การะเวก, และปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์. (2553). ผลของกากตะกอนเยื่อกระดาษต่อการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสที่ปลูกในชุดดินยางตลาด. วารสารดินและปุ๋ย, 32(3), 170-179.

ชัยสิทธิ์ ทองจู และธนัตศรี สอนจิตร. (2553). ผลของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสที่ปลูกในชุดดินกำแพงแสน. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 28(1), 99-109.

ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธนัตศรี สอนจิตร, ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์, ธนศมณท์ กุลการัณย์เลิศ, ระวิวรรณ โชติพันธ์, ธีรยุทธ คล้ำชื่น, และรุจิกร ศรีแม้นม่วง. (2555). ผลของกากตะกอนเยื่อกระดาษต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสที่ปลูกในดินชุดดินกำแพงแสน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 1(1), 14-28.

ทิพวรรณ แก้วหนู, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ธงชัย มาลาศุภชัย อำคา, วิภาวรรณ ท้ายเมือง, ชาลินี คงสุด,
ธีรยุทธ คล้ำชื่น, ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์, และศิริสุดา บุตรเพชร. (2557). ผลของวัสดุอินทรีย์ผสมจากกากตะกอนยีสต์และน้ำวีแนสต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันสำปะหลัง. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 11 สาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ. (น. 53-66). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ธนศมณท์ กุลการัณย์เลิศ, ชัยสิทธิ์ ทองจู, จุฑามาศ
ร่มแก้ว, และธวัชชัย อินทร์บุญช่วย. (2561). การใช้ประโยชน์ผลพลอยได้โรงงานผงชูรส
(อามิ-อามิ) และขี้เถ้าลอยต่อผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 36(1), 40-49.

ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, ชัยสิทธิ์ ทองจู,กานต์ การะเวก, ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์, ระวิวรรณ โชติพันธ์, และรุจิกร ศรีแม้นม่วง. (2555). ผลของกากตะกอนเยื่อกระดาษต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตมวลชีวภาพของยูคาลิปตัสที่ปลูกในชุดดินยางตลาด. วารสารแก่นเกษตร, 40(3), 217-228.

ธีรยุทธ คล้ำชื่น, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ทศพล พรพรหม, และธวัชชัย อินทร์บุญช่วย. (2560). ผลของวัสดุอินทรีย์ผสมจากผลพลอยได้โรงงานผงชูรส (อามิ-อามิ) และขี้เถ้าลอยต่อผลผลิตของมันสำปะหลัง และสมบัติของดิน. วารสารแก่นเกษตร, 45 (4), 711-720.

นฤพน รักขยัน, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ศุภชัย อำคา, จุฑามาศ ร่มแก้ว, และศิริสุดา บุตรเพชร. (2556). การใช้ประโยชน์ของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานผลิตเอทานอลเพื่อเพิ่มผลผลิตของข้าว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 10 สาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ. (น.100-110). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน์, ชัยสิทธิ์ ทองจู, ศุภชัย อำคา, ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, และพงษ์เพชร พงษ์
ศิวาภัย. (2560). ผลของวัสดุอินทรีย์ผสมจากผลพลอยได้โรงงานผงชูรส (อามิ-อามิ) และขี้เถ้าลอยต่อสมบัติดิน ผลผลิต และองค์ประกอบของผลผลิตอ้อยปลูกและอ้อยตอ 1. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 35(3), 19-28.

ภูวดล แท่นทอง, ชัยสิทธิ์ ทองจู,ธวัชชัย อินทร์บุญช่วย, วนิดา สืบสายพรหม, ธรรมธวัช แสงงาม, และธีรยุทธ คล้ำชื่น. (2562). ผลของปุ๋ยอินทรีย์จากศูนย์ปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียของสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ต่อการเจริญเติบโตและการเพิ่มมวลชีวภาพของยูคาลิปตัส. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 2(1), 40-52.

ยงยุทธ โอสถสภา. (2528). หลักการผลิตและการใช้ปุ๋ย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

อนิวรรต เฉลิมพงษ์. (2527). โรคที่เป็นอันตรายต่อกล้าไม้ยูคาลิปตัสคามาลดูเลนซิส. ใน รายงานการสัมมนาไม้ยูคาลิปตัสคามาลดูเลนซิส. (น. 151-168). กรุงเทพฯ: กรมป่าไม้.

Bray, R. H., & Kurtz, L. T. (1945). Determination of total, organic, and available forms of phosphorus in soils. Soil science, 59(1), 39-46.

Pratt, P.F. (1965). Potassium In C.A. Black, (Ed.) Methods of Soil Analysis Part II.Agronomy (pp. 1022-1030). Wisconsin, U.S.A: Madison.

Soil Survey Staff. (2003). Key to Soil Taxonomy (9th ed.). (p. 332). Washington, D.C.: United States Department of Agriculture, Natural Resources Conservation Survice.

Thongjoo, C., Miyagawa, S., & Kawakubo, N. (2005). Effects of soil moisture and temperature on decomposition rates of some waste materials from agriculture and agro-industry. Plant production science, 8(4), 475-481.