Biases in Tort Cases and Debiasing: Behavioral Economics Perspectives อคติในคดีละเมิดและการแก้ไข: มุมมองจากเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม

Main Article Content

Kovit Charnvitayapong

Abstract

บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการประกอบอาชีพเสริมกับคุณภาพชีวิตข้าราชการ ตลอดจนการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงเชิงโครงสร้างของแบบจำลอง ด้วยการวิเคราะห์โครงสร้างความแปรปรวน โดยทำการแบ่งตัวแปรออกเป็น 3 มิติได้แก่ 1) มิติทางด้านเศรษฐกิจ 2) มิติทางด้านกายภาพและทัศนคติบุคคล 3) มิติทางด้านความรู้และการบริหารความเสี่ยงซึ่งใช้ข้อมูลเชิงสำรวจด้วยการเก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการที่ประกอบอาชีพเสริมในจังหวัดอุดรธานีทั้งหมด 280 ตัวอย่าง ผลการศึกษา พบว่า ค่าความเชื่อมั่นในแต่ละมิติมีค่าเท่ากับ 0.895, 0.886, และ 0.905 ตามลำดับ โดยที่มิติทางด้านเศรษฐกิจ และมิติทางด้านกายภาพและทัศนคติบุคคล มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตข้าราชการที่ประกอบอาชีพเสริม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อย่างไรก็ตามการที่มิติทางด้านความรู้และการบริหารความเสี่ยง ไม่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตของข้าราชการนั้นอาจเป็นเพราะ ข้าราชการโดยส่วนใหญ่มีความเชื่อมั่นในประสบการณ์และจากการถ่ายทอดองค์ความรู้จากบรรพบุรุษ ประกอบกับลักษณะนิสัยที่ยึดมั่นในตนเองเป็นหลัก จึงอาจเป็นเหตุให้มิติทางด้านความรู้และการบริหารความเสี่ยง ไม่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตตามผลการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองอนึ่งแบบจำลองที่ถูกใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีค่าดัชนีชี้วัดความเที่ยงและค่าความตรงที่อยู่บนมาตรฐาน ทุกประการ กล่าวคือแบบจำลองที่สร้างขึ้นสามรถใช้ในการทำนายปรากฏการณ์ที่ศึกษาได้อย่างมีความหมาย


ABSTRACT
In general, tort cases have problems related to the compensations awarded to plaintiffs, which are typically less than what they are asking for at a significant ratio. Oftentimes, these reductions have no supporting reasons in the eyes of the general public. However, behavioral economists can explain the differences between the compensations that the plaintiffs sue for and the awarded compensations as partially due to the biases of the plaintiffs and defendants on one side, and the biases of the judges on the other side. Understanding biases and debiasing is very important because it will enlighten society concerning the damage in terms of wrongful conduct. As a result, society as a whole can become more aware of the social cost of torts and will, therefore, reduce them to an optimum level. This article presents the concepts and different kinds of biases of plaintiffs and defendants and the biases of judges, including different ways of debiasing.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
Charnvitayapong, K. (2020). Biases in Tort Cases and Debiasing: Behavioral Economics Perspectives: อคติในคดีละเมิดและการแก้ไข: มุมมองจากเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรม. Journal of Applied Economics and Management Strategy, 7(1), 173–194. Retrieved from http://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/jems/article/view/2830
Section
บทความวิชาการ (Academic Article)