อิทธิพลของความเชื่อมั่นทางกีฬาที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการแข่งขันกีฬา | The Influence of sport confidence on sport achievement

Main Article Content

เชาวรัตน์ เขมรัตน์
สุพัชริน เขมรัตน์
อภิลักษณ์ เทียนทอง

Abstract

            This study aimed to investigate the influence of the source of sport confidence on sports achievement and to compare differences in the source of confidence between males and females.
The participants included 164 athletes: 106 men and 58 women between the ages of 18–24 years who won the gold medal, silver medal and bronze medal in the Thailand University Games. The source of sports confidence questionnaire assessed the source of sport-confidence. The source of sports confidence questionnaire consisting of three dimensions, 8 aspects: physical, mental and skill preparation was used, This focsed on demonstration of ability, physical self-presentation, social support, coaches’ leadership, vicarious experience, environment comfort, and situation favorableness. The utilizing descriptive was used, Too see differences between gender an independent t-test was used,  Multinomial logistic regression analysis was used to measure the contributions of the source of sport confidence on sports achievement. The .05 level of significance was u7sed in all tests. Research findings showed that the source of sport confidence of 8 aspects was correlated with sports achievement (p < 0.05) that could predict the success of the sport of 25.40%. When comparing between gender, male athletes it  showed significantly greater scores in the coaches’ leadership factor than the female counterparts (p < 0.05).


บทคัดย่อ


          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของแหล่งความเชื่อมั่นทางกีฬาที่มีต่อความสำเร็จในการแข่งขันกีฬา และเปรียบเทียบความแตกต่างของแหล่งความเชื่อมั่นทางกีฬาระหว่างเพศชายและหญิง กลุ่มประชากร คือ นักกีฬามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ได้รับเหรียญรางวัลในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย จำนวน 164 คน ประกอบด้วย เพศชาย 106 คน และเพศหญิง 58 คน มีอายุระหว่าง 18 - 24 ปี เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถามแหล่งความเชื่อมั่นทางกีฬา ประกอบด้วย 3 ด้าน 8 องค์ประกอบ คือ การเตรียมพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ และทักษะกีฬา การแสดงความสามารถ การนำเสนอตนเองทางร่างกาย การสนับสนุนจากสังคม ความเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอน การมีประสบการณ์ผ่านผู้อื่น ความสะดวกสบายจากสภาพแวดล้อม และความพึงพอใจต่อสถานการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณา การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างเพศ ด้วยสถิติทดสอบค่าทีอิสระ และวิเคราะห์อิทธิพลของแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาที่มีต่อความสำเร็จในการแข่งขันกีฬา ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเแบบมัลติโนเมียลโลจิสติก กำหนดความมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่าแหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาทั้ง 8 องค์ประกอบ มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จทางการกีฬาและทำนายความสำเร็จทางการกีฬาได้ร้อยละ 25.40 เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างเพศ พบว่านักกีฬาเพศชายมีคะแนนแหล่งความเชื่อมั่นทางกีฬาด้านความเป็นผู้นำของผู้ฝึกสอนมากกว่านักกีฬาเพศหญิง (P < 0.05)

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
สาขาวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพและกีฬา (Science and Health Science & Sport)

References

วิมลมาศ ประชากุล, นฤพนธ วงศ์จตุรภัทร, สมโภชน์ อเนกสุข, & พิชิต เมืองนาโพธิ์. (2552). แหล่งและวิธีการสร้างความเชื่อมั่นในตนเองทางการกีฬาจากทฤษฎีความเชื่อมั่นในตนเองทางการกีฬาของนักกีฬาทีมชาติไทย. วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา, 6(1), 45-63.

สุพัชรินทร์ ปานอุทัย, & นฤพนธ์ วงศ์จตุรภัทร. (2552). การพัฒนาและวิเคราะห์องค์ประกอบ แหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาของนักกีฬาระดับอุดมศึกษาไทย. วารสารวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและกีฬา, 6(1), 82-97.

สุพัชรินทร์ ปานอุทัย, & อภิลักษณ์ เทียนทอง. (2556). แหล่งความเชื่อมั่นทางการกีฬาของนักกีฬาเยาวชนไทย: เพศและชนิดกีฬา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา, 13(2), 115-126.

Ahmed, M., Ho, W. Y., Begum, S., & Sánchez, G. L. (2021). Perfectionism, self-Esteem, and the will to win among adolescent athletes: The effects of the level of achievements and gender. Front. Frontiers in Psychology, 12, 580446. doi: 10.3389/fpsyg.2021.580446

Duaa, M. B.-I., & Bani-Rshaid, M. A. (2022). Effect of sport injuries on the level of confidence and anxiety among athletes in different games. International Journal of Social Science and Humanities Research, 10(1).

Hays, K., Maynard, I., Thomas, O., & Bawden, M. (2007). Sources and types of confidence identified by world class sport performers. Journal of Applied Sport Psychology, 19(4), 434-456.

Juezan, G. I., & Osorno, R. I. (2022). Sport performance anxiety and sports confidence among college athletes: The moderating effect of friendship quality. European Journal of Physical Education and Sport Science, 8(1),
24-62. doi: 10.46827/ejpe.v8i1.4170

Levy, A. R., Perry, J., Nicholls, A. R., Larkin, D., & Davies, J. (2015). Sources of sport confidence, imagery type and performance among competitive athletes: The mediating role of sports confidence. Journal of Sports Medicine and Physical Fitness, 55(7-8), 835-844.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Poh, Y. K., & Smith, D. (2001). Effects of age, gender and sport-type on sources of sport-confidence. (Master). Nanyang Technological University, Singapore.

Rintaugu, E. G., Mwangi, F. M., & Toriola, A. L. (2018). Sources of sports confidence and contextual factors among university athletes. Journal of Physical Education and Sport, 18(2), 889-895.

Sampan, F. P., & Marie, G. A. G. (2015). Sources of sport confidence of student athletes with disabilities. Education Quarterly, 73.

Vealey, R. S., Hayashi, S. W., Garner, H. G., & Giacobbi, P. (1998). Source of sport confidence: Conceptualization and instrument development. Journal of Sport and Exercise Psychology, 20, 54-80.