The Transition to Low-carbon Public Transport: An Equity Model of the Cost of Ownership of Electric Buses การเปลี่ยนผ่านสู่การขนส่งสาธารณะคาร์บอนต่ำ: แบบจำลองสภาวะเสมอภาคของต้นทุนความเป็นเจ้าของรถโดยสารประจำทางไฟฟ้า

Main Article Content

Puree Sirasoontorn
Petchtharin Wongcharoen

Abstract

บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในการเปลี่ยนผ่านสู่การขนส่งสาธารณะคาร์บอนต่ำหากนำรถโดยสารประจำทางไฟฟ้ามาให้บริการแทนรถโดยสารเครื่องยนต์สันดาปภายใน ในพื้นที่เขตกรุงเทพและปริมณฑลขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) โดยคำนึงถึง “ต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของทางเศรษฐศาสตร์” อันได้แก่ต้นทุนเอกชนและต้นทุนผลกระทบภายนอกจากการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ นอกจากนี้บทความนี้ยังได้ใช้ “แบบจำลองสภาวะเสมอภาคของต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของ” ในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวของรถโดยสารประจำทางไฟฟ้าและประเมินประสิทธิผลของมาตรการส่งเสริมการใช้รถโดยสารประจำทางไฟฟ้าอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า การนำรถโดยสารเครื่องยนต์ดีเซลมาใช้มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์มากกว่ารถโดยสารไฟฟ้าไม่มากนัก เนื่องจากราคาซื้อรถโดยสารไฟฟ้ามีมูลค่าสูงกว่ามาก ดังนั้นหากแบตเตอรี่ซึ่งเป็นชิ้นส่วนสำคัญในรถโดยสารไฟฟ้ามีแนวโน้มราคาที่ลดลงจะส่งผลให้รถโดยสารไฟฟ้าเข้าสู่สภาวะเสมอภาคและสามารถให้บริการแทนรถโดยสารเครื่องยนต์ดีเซลได้อย่างคุ้มค่าภายในปี พ.ศ. 2565 หากรัฐต้องการนำรถโดยสารไฟฟ้ามาให้บริการแทนรถโดยสารเครื่องยนต์ดีเซลในทันที การศึกษานี้พบว่ามาตรการทางการเงินโดยยกเว้นดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อซื้อรถโดยสารไฟฟ้าเป็นมาตรการที่มีประสิทธิผลมากที่สุด นอกจากนี้ การยืดระยะเวลาใช้งานรถโดยสารประจำทางให้นานยิ่งขึ้น จะทำให้การใช้รถโดยสารไฟฟ้ามีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์มากกว่ารถโดยสารประจำทางประเภทอื่นๆ เป็นที่น่าสังเกตว่าการใช้รถโดยสารเครื่องยนต์ดีเซลที่ได้รับการอุดหนุนค่าเชื้อเพลิงจากกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง ทำให้มีต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของต่ำกว่ารถโดยสารประเภทอื่น หากยกเลิกการแทรกแซงราคาน้ำมันดีเซลแล้วจะทำให้รถโดยสารไฟฟ้าเข้าสู่สภาวะเสมอภาคได้ทันที ดังนั้นกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิงจึงเป็นอุปสรรคในการเปลี่ยนผ่านสู่การขนส่งสาธารณะคาร์บอนต่ำในประเทศไทย


 คำสำคัญ: การขนส่งสาธารณะ รถโดยสารประจำทาง ต้นทุนความเป็นเจ้าของ ยานยนต์ไฟฟ้า


 ABSTRACT
This paper aims to assess the effective adoption of electric buses by Bangkok Mass Transit Authority (BMTA) in the Bangkok Metropolitan Area to achieve low-carbon transition in public transport. In this study, the economic model of the total cost of ownership (TCO) is employed. TCO includes private costs and external costs from greenhouse gas emissions and air pollution. This paper also adopts the TCO parity model to analyze the long-term competitiveness of electric buses and assess the effectiveness of government measures to promote the use of electric buses.  The results shows that diesel-powered buses are much more economically competitive than electric buses owing to the high purchase price of electric buses.  Therefore, if the price of battery, which is a key component in electric buses, tends to fall, electric buses will reach TCO parity and be able to serve as a cost-effective replacement for diesel-powered buses by 2022. If the government aims to replace diesel-powered buses with electric buses immediately, this study found that the zero-interest loan program for electric buses would be the most effective government measure. In addition, if the useful lifespan of electric buses is extended, the electric buses will be more economical than other types of buses. Last but not least, the public transport will be transitioned toward low-carbon economy immediately if the government restructures diesel prices by eliminating the price subsidization through the Oil Fund.

Keywords: Public Transport, Fixed Route Bus, Total Cost of Ownership, Electric Vehicles


 


เอกสารอ้างอิง


ชัยวัฒน์ ศิริพจนากุล (2559). การประเมินต้นทุนรวมในความเป็นเจ้าของยานยนต์ไฟฟ้าในกรุงเทพมหานคร. (ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะเศรษฐศาสตร์, สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ.


ภูรี สิรสุนทร, ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์, รุ่งนภา โอภาสปัญญาสาร และ เพ็ชรธรินทร์ วงศ์เจริญ. (2562). โครงการประเมินมาตรการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าต่อการยอมรับของผู้บริโภคและประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคขนส่ง. (รายงานการวิจัย). การไฟฟ้าฝ่ายผลิต และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย


ยศพงษ์ ลออนวล. (2556). การศึกษาการพัฒนาของเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าและผลกระทบที่เกิดขึ้นสาหรับประเทศไทย. (รายงานการวิจัย). การไฟฟ้าฝ่ายผลิต และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ


สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง (2559). โครงการศึกษาแนวทางการจัดหารถโดยสารไฟฟ้า จำนวน 200 คัน. รายงานวิจัยเสนอต่อ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ.


สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง. (2548). เศรษฐศาสตร์น่ารู้, ค่าเสื่อมราคา (Depreciation). สืบค้นจาก http://www2.fpo.go.th/S-I/Source/ECO/ECO23.htm


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2559). ตารางแสดงวงเงินงบประมาณทีได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง) การจัดซื้อพร้อมว่าจ้างซ่อมรถโดยสารไฟฟ้าจำนวน 200 คัน. สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/draft-tor/1taaraangaesdngwngenginngbpramaanthiiaidrabcchadsrraelaraakhaaklaang_rthaiffaa_200_khan_0.pdf


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2559). ประกาศ ราคากลางการซ่อมแซมบำรุงรักษารถโดยสารปรับอากาศยูโรทู. สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/procurement/middle-price/1-10-2559.pdf


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2560). สรุปผลการจัดทำร่างขอบเขตของงาน และรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของรถโดยสารปรับอากาศใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ NGV พร้อมซ่อมแซมและบำรุงรักษารถโดยสาร จำนวน 489 คัน. สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/procurement /reportresults/3_srupraayngaanphlkaarcchadthamraang_tor_aelaraakhaaklaang.pdf


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2561). แผนฟื้นฟูกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.). สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/about-us/rehabilitation-plan-may61-edit.pdf


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2561). รายงานประจำปีองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ 2561. สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/download/annualreport2561.pdf


องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (2562). แผนการฟื้นฟูกิจการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) พ.ศ. 2561 (ฉบับปรับปรุง). สืบค้นจาก http://www.bmta.co.th/sites/default/files/files/about-us/rehabilitation-plan-may62_0.pdf


Ambrose, H., Pappas, N., Kendall, A. (2017). Exploring the Costs of Electrification for California’s Transit Agencies. ITS Reports


Bloomberg (2018). Electric Buses in Cities Driving Towards Cleaner Air and Lower CO2. Bloomberg New Energy Finance: New York, NY, USA.


Bloomberg (2019). New Energy Outlook 2019. Bloomberg New EnergyFinance: New York, NY, USA. Retrieved from https://about.bnef.com/new-energy-outlook/


Breet H. & Salon D. (2017). Do electric vehicles need subsidies? ownership costs for conventional, hybrid, and electric vehicles in 14 U.S. cities. Energy Policy, 120, 238-249.


Bubeck, S., Tomaschek, J. & Fahl, U. (2016) “Perspectives of electric mobility: Total cost of ownership of electric vehicles in Germany”, Transport Policy, 50, 63-77


Carbon Brief Ltd. (2017). The social cost of carbon. Retrieved from: https://www.carbonbrief. org/qa-social-cost-carbon


Danielis, R., Giansoldati, M. & Rotaris, L. (2018). A probabilistic total cost of ownership model to evaluate the current and future prospects of electric cars uptake in Italy. Energy Policy, 119, 268-281.


European Environment Agency (2019). EMEP/EEA air pollutant emission inventory guidebook 2019.


Hagman, J. & Langbroek, J.H.M. (2018). Conditions for electric vehicle taxi: A case study in the greater Stockholm region. Transportation Research Board 97th Annual Meeting. Washington D.C., United States


Harvey, L.D.D. (2018). Cost and energy performance of advanced light duty vehicles: Implications for standards and subsidies. Energy Policy. 114, 1–12.


Köhler, j. (2006). Transport and the environment: the need for policy for long term radical change: a literature review for the DTI FORESIGHT project on Intelligent Infrastructure Systems. IEE Proc. Intelligent Transport Systems. 153 (4), 292-301.


Pavlenko, N., Slowik, P. & Lutsey, N. (2019). When does electrifying shared mobility make economic sense?. Working paper 2019-01. The International Council of Clean Transportation.


Propfe, B., Redelbach, M., Santini, D.J. & Friedrich, H. (2012). Cost analysis of plug-in hybrid electric vehicles including maintenance & repair costs and resale values. EVS26 International Battery, Hybrid and Fuel Cell Electric Vehicle Symposium, Los Angeles.


Schimeczek, D. Özdemir, E. & Schmid, S. (2016) “Effectiveness of monetary and non-monetary incentives on the purchase of plug-in electric vehicles considering national and regional frameworks within the European Union”, European Transport Conference, Barcelona.


Slowik, P., Araujo, C., Dallmann, T., & Façanha, C. (2018). International evaluation of public policies for electromobility in urban fleets. International Council on Clean Transportation and Gesellschaft für International Zusammenarbeit (GIZ).


Song, S. (2016). Transport Emissions & Social Cost Assessment: Methodology Guide. World Resources Institute


van Vilet, O., Brower, A.S., Kuramochi, T., van Den Broek, M., Faaid, A. (2010). Energy use, cost and CO2 emissions of electric cars. J. Power Sources 196, 2298-2310.


Wu, G., Inderbitzin, A., & Bening, C. (2015) “Total cost of ownership of electric vehicles compared to conventional vehicles: A probabilistic analysis and projection across market”, Energy Policy. 80, 196-214.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
Sirasoontorn, P., & Wongcharoen, P. (2023). The Transition to Low-carbon Public Transport: An Equity Model of the Cost of Ownership of Electric Buses: การเปลี่ยนผ่านสู่การขนส่งสาธารณะคาร์บอนต่ำ: แบบจำลองสภาวะเสมอภาคของต้นทุนความเป็นเจ้าของรถโดยสารประจำทางไฟฟ้า. Journal of Applied Economics and Management Strategy, 10(1), 126–146. Retrieved from https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/jems/article/view/4882
Section
บทความวิจัย (Research Article)