ข้าวสาลีขนมปังสายพันธุ์ดีเด่น | Bread Wheat Promising Lines

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

สิปปวิชญ์ ปัญญาตุ้ย
สาธิต ปิ่นมณี
นิพนธ์ บุญมี
อาทิตยา ยอดใจ
นงนุช ประดิษฐ์
สุรพล ใจวงศ์ษา
เนตรนภา อินสลุด

บทคัดย่อ

        Grain bakers want flour from wheat produced in Thailand. The objective of this study was to develop bread wheat varieties for high yields and good quality. The study of the observation, intra-station yield trial, inter-station yields trial and farmer yield trial had been done during 2017-2020, it was found that the observation of 20 bread wheat promising lines, 8 bread wheat promising lines had high yield. (FNBW8301-5-5, FNBW8310-1-SMG-1-1-1, LARTC-W89011, MHSBWS12010, MHSBWS12046, PMPBWS89013, PMPBWS89248 and SMGBWS88008). And intra-station yield trial, inter-station yields trial and farmer yield trial, LARTC-W89011 had the highest average yield and SMGBWS88008 was better used for processing into bread flour than other cultivars.


บทคัดย่อ


        ปัจจุบันมีผู้ประกอบการต้องการแป้งจากข้าวสาลีที่ผลิตภายในประเทศไทย จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดี ดำเนินการศึกษาพันธุ์ข้าวสาลีขั้นต้น เปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ระหว่างสถานี และทดสอบพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังในนาราษฎร์ ตั้งแต่ฤดูปลูกปี 2560-2563 พบว่า จากการศึกษาพันธุ์ข้าวสาลีขนมปัง จำนวน 20 สายพันธุ์ มีข้าวสาลีจำนวน 8 สายพันธุ์ที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูง (FNBW8301-5-5, FNBW8310-1-SMG-1-1-1, LARTC-W89011, MHSBWS12010, MHSBWS12046, PMPBWS89013, PMPBWS89248 และ SMGBWS88008) และจากการเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ระหว่างสถานี และการทดสอบพันธุ์ข้าวสาลีขนมปังในนาราษฎร์ สายพันธุ์ LARTC-W89011 มีค่าเฉลี่ยของผลผลิตสูงสุด และ SMGBWS88008 สามารถใช้แปรรูปเป็นแป้งขนมปังได้ดีกว่าสายพันธุ์อื่น

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

บท
สาขาพืชศาสตร์ (Plant Sciences )

เอกสารอ้างอิง

กรมการข้าว. (2562). ความต้องการของธัญพืชเมืองหนาวของไทย. ใน การประชุมผู้ใช้ประโยชน์จากธัญพืชเมืองหนาว. 23 เมษายน 2562.

(น. 1-8.) กรุงเทพฯ: กรมการข้าว. ขรรค์ชัย วงศ์บุรี และ สุธีรา มูลศรี. (2537).
การปรับปรุงพันธุ์ธัญพืชเมืองหนาวในเขตศูนย์วิจัยข้าวแพร่ ปี 2535/2536. ใน การประชุมวิชาการธัญพืชเมืองหนาว ครั้งที่ 15 เรื่อง อนาคตของธัญพืชเมืองหนาวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร. 2-4 มีนาคม 2537.
(น. 38-55.) กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยการปรับปรุงข้าวโพดและข้าวสาลีนานาชาติ.

ละม้ายมาศ ขาวไชยมหา. (2528). คุณภาพข้าวสาลีไทยกับการทำผลิตภัณฑ์. ใน เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการธัญพืชเมืองหนาว. กรุงเทพฯ: กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว.

สาธิต รัชตเสรี, ประภัศร์ ธันธทัต, ศิรวิชญ์ เรืองสุข, พิศาล กองหาโคตร, สมหมาย ศรีวิสุทธิ์, อนันต์ ตั้งจิตรตรง, เอกสิทธิ์ สกุลคู และ อัฒพล สุวรรณวงศ์. (2537). การปรับปรุงพันธุ์ธัญพืชเมืองหนาวในเขตศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี ปี 2535/2536. ใน การประชุมวิชาการธัญพืชเมืองหนาว ครั้งที่ 15 เรื่อง อนาคตของธัญพืชเมืองหนาวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร. 2-4 มีนาคม 2537. (น. 56-70.) กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยการปรับปรุงข้าวโพดและข้าวสาลีนานาชาติ.

สุธีรา มูลศรี, นงนุช ประดิษฐ์, พจน์ วัจนะภูมิ, นิทัศน์ สิทธิวงศ์, ศิวะพงศ์ นฤบาล, ไพโรจน์ โชตินิสากรณ์, กาญจนา พิบูลย์ และ สาธิต ปิ่นมณี. (2554). ข้าวสาลีสายพันธุ์ดีเด่น. ใน สัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง. 14 - 16 กุมภาพันธ์ 2554. (น. 380 – 387). กรุงเทพฯ: กรมการข้าว.
อุสาห์ เจริญวัฒนา, วิเชียร วรพุทธพร, ประทุม

สงวนตระกูล และ สมไฉน นาถภากุล. (2535). การพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปข้าวสาลีเพื่อใช้ประโยชน์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ใน รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 30 สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สังคมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สิ่งแวดล้อม คหกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์. 29 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2535. (น. 435-444.) กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและการพลังงาน.

AOAC. (2005). Official Methods of Analysis (18th ed.). Maryland, U.S.A.: AOAC International:
Chujo, H. (1966). Difference in vernalization effect in wheat under various temperatures. Japanese Journal of Crop Science, 35(3-4), 177-186.

Finnie, S., & Atwell, W. A. (2016). Wheat and Flour Testing. Wheat Flour (2nd ed.). (pp. 57-71). U.S.A.: AACC International.

Frank, A. B., & Bauer, A. (1984). Cultivar, Nitrogen, and Soil Water Effects on Apex Development in Spring Wheat 1. Agronomy Journal, 76(4), 656-660.

Friend, D. J. C. (1966). The effects of light and temperature on the growth of cereals. The growth of cereals and grasses, 181, 199.

Grain Baker's Kitchen. (2022). Retrieved April, 19, 2022, from https://www.facebook.com/grain
bakershop/posts/2957506294524173

Marcellos, H., & Single, W. V. (1971). Quantitative responses of wheat to photoperiod and temperature in the field. Australian Journal of Agricultural Research, 22(3), 343-357.

Marcellos, H., & Single, W. V. (1972). The influence of cultivar, temperature and photoperiod on post-flowering development of wheat. Australian Journal of Agricultural Research,
23(4), 533-540.

Rawson, H. M., & Evans, L. T. (1971). The contribution of stem reserves to grain development in a range of wheat cultivars of different height. Australian Journal of Agricultural Research, 22(6), 851-863.

Wall, P. C., & Cartwright, P. M. (1974). Effects of photoperiod, temperature and vernalization on the phenology and spikelet numbers of spring wheats. Annals of Applied Biology,
76(3), 299-309.