การวิเคราะห์ระยะเวลาคืนทุนต้นแบบโรงงานรีไซเคิลคอนกรีต Payback Period of a Concrete Recycling Plant

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ไพศาล ศุภนัตร์
กฤษณะ จันทรโชติ
สิรัญญา ทองชาติ
ปนัดดา กสิกิจวิวัฒน์

บทคัดย่อ

            At present, due to the growing economic conditions, Thailand has an increased amount of building construction or demolition of buildings that generates construction waste. The purpose of this research is to design a suitable logistics management system for construction waste recycling by quantifying the amount of waste generated in each area and designing a concrete waste recycling plant that is suitable for the quantity in that area, by analyzing cost and estimating the payback period of the concrete waste recycling plant. The sample study area was selected as Nakhon Pathom Province. The study found that the amount of concrete waste obtained from Nakhon Pathom Province produced 116.52 tons/day of concrete waste from construction and 148.33 tons/day of estimated concrete waste from demolition. By using the efficiency of waste recycling about 20-35 percent for economic analysis, two sample factory sizes were analyzed, and it was found that a medium-sized factory with a recycling efficiency of 7 tons/hr was more suitable because it provided a faster payback period. However, a medium-sized factory could cover less area.


บทคัดย่อ


            ในปัจจุบันเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้น ประเทศไทยมีการก่อสร้างอาคาร และการรื้อถอนโครงสร้างอาคารที่ทำให้เกิดขยะจากงานก่อสร้างมากขึ้น งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบการจัดการขยะที่เกิดจากงานก่อสร้างด้วยระบบโลจิสติกส์ที่เหมาะสมสำหรับการจัดการรีไซเคิลขยะจากงานก่อสร้าง โดยการประมาณค่าปริมาณการเกิดขยะคอนกรีตในแต่ละพื้นที่ และออกแบบโรงงานสำหรับรีไซเคิลขยะคอนกรีตที่เหมาะสมกับปริมาณขยะของพื้นที่นั้นๆ โดยวิเคราะห์จากต้นทุนการก่อสร้างและหาระยะเวลาคืนทุนของ โรงงานรีไซเคิลขยะคอนกรีต โดยตัวอย่างพื้นที่ศึกษาจะเลือกเป็นพื้นที่จังหวัดนครปฐม จากการศึกษาพบว่าปริมาณขยะคอนกรีตที่ได้จากพื้นที่จังหวัดนครปฐม เกิดการผลิตขยะคอนกรีตจากงานก่อสร้าง 116.52 ตัน/วัน และขยะคอนกรีตที่ประเมินได้จากงานรื้อถอนสิ่งก่อสร้าง 148.33 ตัน/วัน และจากการคาดการณ์ประสิทธิภาพการนำขยะมารีไซเคิลให้ประมาณเท่ากับ 25 ถึง 35 เปอร์เซ็นต์ ในด้านการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ของโรงงานรูปแบบตัวอย่างสองขนาด พบว่าต้นแบบโรงงานขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพการรีไซเคิลที่ 7 ตัน/ชม. เหมาะสมในด้านการลงทุนเนื่องจาก มีระยะเวลาคืนทุนเร็วกว่า แต่จะครอบคลุมพื้นที่น้อยกว่า

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

บท
สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering )

เอกสารอ้างอิง

กนกวรรณ จันทร์เจริญชัย.(2553). การเตรียม และการประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.(2561). สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงของประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.(2562). แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.

เทอดศักดิ์ สายสุทธิ์. (2555). Rca จากส่วนที่เหลือของเสาเข็มคอนกรีต. ใน การประชุมวิชาการแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสนครั้งที่ 9. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

ปกรณ์เกียรติ หมื่นสิทธิโรจน์, ภาวินี พงศ์พันธ์พฤทธิ์, พิสุทธิ์ เพียรมนกุล,ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา.(2564). การศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากการจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษา โครงการอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรบางโฉลง จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 10(2), 27-34.

ปาลิกา วรรณวิไล.(2559). การวิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยและยุทธศาสตร์สำหรับกรุงเทพมหานคร. คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

เพชร์รัตน์ ลิ้มสุปรียารัตน์.(2560). โครงการ การพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญบนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดินและการขออนุญาตก่อสร้างอาคาร (รายงานการวิจัย). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

ไพรัช วงศ์ยุทธไกร.(2551). การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management ). วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 2(2), 6-10

สำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.(2556). กองทุนสิ่งแวดล้อม. เมื่อ 20 กันยายน 2565 จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER38/DRAWER027/GENERAL/DATA0000/00000057.PDF

โสภาพร คงเชื้อนาค.(2559). การส่งเสริมการหมุนเวียนขยะจากการก่อสร้างและรื้อถอนกลับมาใช้ใหม่ ศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

อภิชล กาเนิดว้า, วนิดา รัตนมณี, รัญชนา สินธวาลัย, วรรณรัช สันติอมรทัต. (2557). วิธีการเชิงพันธุกรรมสำหรับการวิเคราะห์ปัญหาตำแหน่งที่ตั้ง เพื่อการจัดการซากคอมพิวเตอร์ในอนาคต. วารสารวิชาการพระจอมเก้าพระนครเหนือ, 24(3), 560-573.

อภิรักษ์ มาตรนอก. (2555). การศึกษาผลกระทบของสถานะความชื้นและการดูดซึมน้้าของมวลรวมหยาบธรรมชาติและรีไซเคิลต่อค่าการยุบตัวและก้าลังอัดของคอนกรีต (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อลงกต บุญศิริ.(2557). การพัฒนาคอนกรีตกำลังสูงระยะต้นที่ใช้มวลรวมหยาบของคอนกรีตถนนเก่าที่นำกลับมาใช้ใหม่ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

อุษณีย์ อุยะเสถียร และ อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย.(2550). การประเมินปริมาณและองค์ประกอบของของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอาคารในกรุงเทพมหานคร. เมื่อ 20 กันยายน 2565 จาก https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/48076.

Amit, S., William, P.M., Yuanjie, H. (2560). Matching supply with demand in

supply chain management education. The International Journal of Logistics Management, 27(3), 837-861. doi:10.1108/IJLM-03-2015-0058.

Daniel J. Preston, Keith A. (2013). Woodbury Cost–benefit analysis of retrofit of high-intensity discharge factory lighting with energy-saving alternatives, Energy Efficiency. 6, 255-269. doi: 10.1007/s12053-012-9179-1.

Huanyu, W., Huabo, D., Lina, Z., Jiayuan, W., Yongning,N.,Guomin,Z.(2016). Demolition waste generation and recycling potentials in a rapidly developing flagship megacity of South China: Prospective scenarios and implications. Construction and Building Materials, 113, 1007-1016. doi: 10.1016/j.conbuildmat.2016.03.130.

Jon, A.E. (1990).Cold-Recycled Bituminous Concrete Using Bituminous Materials. Washington, D.C: National Cooperative Highway Research Program.

Mohammed,M.,Egyir,I.S., Donkor, A.K., Amoah, P., Nyarko, S., Boateng, K.K., Ziwu, C. (2017).Feasibility study for biogas integration into waste treatment plants in Ghana. Egyptian Journal of Petroleum,26(3), 695-703. doi:10.1016/j.ejpe.2016.10.004.

Napier, T. (2012). Construction waste management. Retrieved September 19, 2022, from https://www.wbdg.org/resources/construction-waste-management

Oyenuga, A.R.,Bhamidimarri.(2017).Upcycling ideas for sustainable construction and demolition waste management: Challenges, opportunities, and boundaries. International Journal of Innovative Research in Science, Engineering and Technology, 6(3), 4066-4079. doi:10.15680/IJIRSET.2017.0603187.

Silva, R.V., J. Brito, R. Dhir. (2016). Availability and processing of recycled aggregates within the construction and demolition supply chain: A review. Journal of Cleaner Production, 143, 1-55. doi:10.1016/j.jclepro.2016.12.070.

Wang, J.Y., Touran, A., Christoforou, C., Fadlalla, H., (2004). A system analysis tool for construction and demolition wastes management, Waste Management. 24(10), 989-997.doi:10.1016/j.wasman.2004.07.010.

Weisheng,L.,VivianW. Y. Tam.(2009). Construction waste management policies and their effectiveness in Hong Kong:A longitudinal review. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 23, 214-223. doi: 10.1016/j.rser.2013.03.007.