การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้าน (ข้าวสตู) ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

ผู้แต่ง

  • เปรมภาว์ ด้วงทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ปทุมพร หิรัญสาลี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • พิมใจ พรหมสุวรรณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • ลักขณา ดำชู คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
  • อริสรา ถาวรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด, ผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้าน, ข้าวสตู

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้าน (ข้าวสตู) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่างในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 165 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย และวิเคราะห์ข้อมูลผ่านการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยวิธีความเป็นไปได้สูงสุด ผลการวิจัยพบว่า โมเดลปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดสำหรับผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้าน (ข้าวสตู) มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (x2= 441.580, x2/df = 2.230, RMSEA = 0.086, CFI = 0.92, TLI = 0.906, SRMR = 0.067) ซึ่งประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ และมีตัวแปรสังเกตได้ 22 ตัวแปร ดังนั้นผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้านสามารถนำปัจจัยประสมทางการตลาดจากตัวแปรสังเกตได้จากงานวิจัยนี้มาเป็นแนวทางพัฒนาแนวทางในการวางแผนการตลาดให้เข้ากับกลุ่มลูกค้าหรือกลยุทธ์ของธุรกิจในอนาคต เพื่อเพิ่มผลการดำเนินงานด้านการตลาด นำไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการอาหารพื้นบ้านในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาต่อไป  

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

เอกสารอ้างอิง

กมลรัตน์ โยธานันต์. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของตัวบ่งชี้ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการรับส่งพัสดุภัณฑ์. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 10(1), 30-43.

ณัฐกานต์ รุ่งเรือง, โชติกา นาคประสูตร, และธีระพล คุณบุราณ. (2565). การวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลระหว่างปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด (7Ps) ของธุรกิจโรงแรมในจังหวัดอุดรธานี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 17(1), 135-146.

นวัฒกร โพธิสาร, วิจิตรา โพธิสาร, ศิรินทิพย์ พิศวง, จักรกฤช ใจรัศมี, และพุฒิพงษ์ รับจันทร์. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดสำหรับโอท็อปนวัตวิถีใน จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 4(1), 27-37.

นราธิป ภักดีจันทร. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการซื้อสินคาโอท็อปของกลุมวัยรุนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิทยาลัยโลจิสติกสและซัพพลายเชน, 1(2), 55-64.

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, ภาคภูมิ ภัควิภาส, และเบญญาภา กันทะวงศ์วาร. (2559). พฤติกรรมและส่วน ประสมทางการตลาดที่มีต่อการท่องเที่ยววิถีไทยของนักท่องเที่ยวต่างประเทศเพื่อเป็นแนวทางการ พัฒนาการท่องเที่ยวในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(3), 127-139.

สุวรรณา เขียวภักดี, และชัยณรงค์ ศรีรักษ์. (2564). กลยุทธ์การจัดการภูมิปัญญาขนมไทยในบริบทการ ส่งเสริมและพัฒนาสู่ชุมชนท่องเที่ยว กรณีศึกษาชุมชนบ้านท่าคอย จังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 8(2), 90-100.

สำนักงานสถิติจังหวัดสงขลา. (2563). รายงานสถิติจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2562. สงขลา: สำนักงานสถิติจังหวัดสงขลา.

Wahab, N. A., Hassan, L. F. A., Shahid, S. A. M., & Maon, S. N. (2016). The relationship between marketing mix and customer loyalty in hijab industry: The mediating effect of customer satisfaction. Procedia Economics and Finance, 37(16), 366-371.

Karim, R., Latip, N. A., Marzuki, A., Haider, S., Nelofar, M., & Muhammad, F. (2021). The impact of 4ps marketing mix in tourism development in the mountain areas: A case study. Int. J. Econ. Bus. Adm. IJEBA, 9, 231-245.

Mohammadi, H., Saghaian, S., & Alizadeh, P. (2018). Prioritization of expanded marketing mix in different stages of the product life cycle: The case of food industry. Journal of Agricultural Science and Technology, 19(5), 993-1003.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2019). Multivariate data analysis: Pearson new international (8th ed.). Cengage Learning EMEA.

Hu, L. T., & Bentler, P. M. (1999). Cutoff criteria for fit indexes in covariance structure analysis: Conventional criteria versus new alternatives. Structural equation modeling: a multidisciplinary journal, 6(1), 1-55.

Son, J., & Jin, B. E. (2019). When do high prices lead to purchase intention? Testing two layers of moderation effects. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics,31(5), 1516-1531.

Sukamto, R., & Lumintan, D. (2015). The impact of marketing mix towards customer loyalty mediated by customer satisfaction of blackberry Indonesia. iBuss Management, 3(2), 316-324.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-12-27