รูปแบบการออกกำลังกายผ่านสื่อสังคมออนไลน์และความสามารถ ในการออกกําลังกายด้วยตนเองของผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • มนชาย ภูวรกิจ คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • ธนัญชัย เฉลิมสุข คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • ปรีชา ทับสมบัติ

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, รูปแบบการออกกำลังกาย , สื่อสังคมออนไลน์ , ออกกําลังกายด้วยตนเอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการออกกำลังกายของผู้สูงอายุผ่านสื่อสังคมออนไลน์ และอิทธิพลของรูปแบบการออกกำลังกายผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ที่มีต่อความสามารถในการออกกําลังกายด้วยตนเองของผู้สูงอายุ  กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุอำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 378  คน โดยสุ่มแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิธีวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 60-64 ปี มีพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ในการสร้างเสริมสุขภาพอยู่ระดับมาก แอปพลิเคชันที่ใช้มากที่สุดคือไลน์ ในภาพรวมรูปแบบการออกกำลังกายผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่ผู้สูงอายุนิยมเลือกใช้มากที่สุดคือการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความสามารถในการทรงตัว รองลงมาคือการออกกำลังกายเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดการสูญเสียมวลกระดูก และการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความทนทานของระบบหัวใจและหลอดเลือด ตามลำดับ เมื่อพิจารณาในกรณีที่ผู้สูงอายุไม่มีโรคประจำตัว จะเลือกการออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดการสูญเสียมวลกระดูกมากที่สุด ในขณะที่ผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวจะเลือกการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความสามารถในการทรงตัว นอกจากนี้ยังพบว่า รูปแบบการออกกำลังกายผ่านสื่อออนไลน์มีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกต่อความสามารถในการออกกําลังกายด้วยตนเองของผู้สูงอายุ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

ประวัติผู้แต่ง

ธนัญชัย เฉลิมสุข, คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

อาจารย์ธนัญชัย เฉลิมสุข

อาจารย์ประจำสาขาวิชา

คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

ปรีชา ทับสมบัติ

อาจารย์ปรีชา ทับสมบัติ

ประจำสาขาวิชานวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

เอกสารอ้างอิง

กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2562). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่องสังคมผู้สูงอายุ 64 Sustainable Change (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

จุฬาลักษณ์ ฟูรูโนะ. (2560). รูปแบบการออกกําลังกายสําหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2564, จาก chrome-extension://efaidnbmnnnibpcajpcglclefindmkaj /http://www.dsdw2016. dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2559-2560/PDF/wpa_8085/ ALL.pdf

พนม คลี่ฉายา. (2563). ความผูกพัน ความเสี่ยงจากการใช้สื่อสังคมออนไลน์ และความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันของประชาชน. วารสารนิเทศศาสตร์, 38(3), 1-16.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2561). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกาฬสินธุ์. (2564). ศูนย์ข้อมูลทางสังคม 2564. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2564, จาก http://kalasin.m-society.go.th.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). ดัชนีพฤฒิพลังผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท เท็กซ์แอนด์เจอร์นัลพับลิเคชั่น จำกัด.

American College of Sports Medicine. (2010). ACSM’s resource manual for guidelines for exercise testing and prescription (6th ed.). Philadelphia: Lippincott William & Wilkins.

Blažič, A. J., & Blažič, B. J. (2018). Digital skills for elderly people: A learning experiment in four European countries. Review of European Studies, 10(4), 74-86.

Castilla, D. et al. (2018). Teaching digital literacy skills to the elderly using a social network with linear navigation: A case study in a rural area. International Journal of Human-Computer Studies, 118, 24-37.

Chantakeeree, C. (2016). Promoting exercise behavior for vulnerable elderly. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 24(2), 1-13.

Eliopoulos, C. (2014). Gerontological nursing (8th ed.). Philadelphia: Lippincott William & Wilkins.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J. & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7thed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Khvorostianov, N. (2016). Thanks to the internet, we remain a family: ICT domestication by elderly immigrants and their families in Israel. Journal of Family Communication, 16(4), 355-368.

Kleechaya, P. (2021). Digital technology utilization of elderly and framework for promoting Thai active and productive aging. Journal of Communication Arts, 39(2), 56-78.

Lind, D.A., Marchal, W.G., & Wathen, S.A. (2010). Statistical techniques in business & economics (14th ed.). Boston, USA: McGraw-Hill & Irwin.

Marston, H. R. et al. (2016). Technology use, adoption and behavior in older adults: results from the iStoppFalls project. Educational Gerontology, 42(6), 371-387.

Miwa, M et al. (2017). Changing patterns of perceived ICT skill levels of elderly learners in a digital literacy training course. LIBRES: Library & Information Science Research Electronic Journal, 27(1), 13-25.

Nimrod, G. (2010). Seniors' online communities: a quantitative content analysis. The Gerontologist, 50(3), 382-392.

Nunnally, JC., & Bernstein I. (1994). Psychometric theory (3rd ed). New York: McGraw-Hill.

Quan-Haase, A., Mo, G. Y., & Wellman, B. (2017). Connected seniors: how older adults in East York exchange social support online and offline. Information, Communication & Society, 20(7), 967-983.

Svobodová, L., & Hedvičáková, M. (2017). The use of the social networks by elderly people in the Czech Republic and other countries V4. In Conference on e-Business, e-Services and e-Society (pp. 50-60). Springer, Cham.

Tipkanjanaraykha, K., Yingrengreung, S., Kheokao, J., Ubolwan, K., Jaemtim, N., & Promsuan, W. (2017). Health information seeking behaviors of elderly through online media Accordingto perceivedhealth status. Journal of Health science research, 11, 12-22.

Touht, T. A., & Jett, K. F. (2014). Gerontological nursing & healthy aging (4th ed.). Missouri: Mosby.

Tuntavanitch, P., & Jindasri, P. (2018). The real meaning of IOC. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, 24(2), 3-12.

Wojtek, J. (2014). ACSM’s exercise for older adult. China: Lippincott William & Wilkins.

Yamane, Taro. (1967). Statistics, an introductory analysis (2nd ed). New York: Harper and Row.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-06-29