ประโยชน์ของเปลือกมะนาว

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ชมดาว สิกขะมณฑล

บทคัดย่อ

มะนาว (Lime) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Citrus aurantifolia (Christm et. Panz.) Swing เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก จัดเป็นไม้ผลในตระกูลส้ม (Citrus) มีรสเปรี้ยวจัดหรือเป็นแหล่งของวิตามินซี ให้รสชาติและกลิ่นหอม มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระโดยเฉพาะวิตามินซีในมะนาวช่วยป้องกันโรค โดยการควบคุมอนุมูลอิสระให้อยู่ในภาวะสมดุลที่ร่างกายรับได้ มะนาวอยู่ในวงศ์ Rutaceae มีคุณสมบัติทางโภชนาการและยา เป็นแหล่งของเพกติน สารต้านอนุมูลอิสระที่ละลายน้ำได้และไม่ละลายน้ำและน้ำมันหอมระเหย เปลือกมะนาวอุดมไปด้วยสารฟีนอลิกที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระซึ่งสามารถต้านมะเร็ง ต้านไวรัส ต้านแบคทีเรีย และต้านการอักเสบ ยังเป็นสารพฤกษเคมีหรือไฟโตนิวเทรียนท์ (phytochemicals หรือ phytonutrients) ซึ่งเป็น สารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่พบเฉพาะในพืช และมีฤทธิ์ต้านจุลชีพที่สำคัญมีคุณสมบัติเป็นยาสมานแผลได้ นอกจากนี้เปลือกมะนาวมีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคได้ดี จากคุณประโยชน์ของเปลือกมะนาวสามารถนำไปประยุกต์อาหารคาว อาหารว่าง เบเกอรี เครื่องดื่มต่าง ๆ รวมทั้งใช้เป็นอาหารเสริมหรือผลิตภัณฑ์เสริมความงามหรือใช้เป็นผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

บท
บทความวิชาการ

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงพาณิชย์ [อินเตอร์เน็ต]. นนทบุรี : กระทรวงพาณิชย์ ; 2567 [เข้าถึงเมื่อ 14 ม.ค. 2567] เข้าถึงได้จาก https://www.moc.go.th/th/content/category/detail/id/4/iid/7269

สมศักดิ์ วรรณศิริ. 2541. สวนมะนาว. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพมหานคร : ฐานเกษตรกรรม.

"สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน" เล่ม ๑๓ โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, หนังสือ "สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ" หน้า ๘๕ โดย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, เอกสาร "โรงน้ำผลไม้สวนจิตรลดา" โดย โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จาก Thailand: The Royal Chitralada Projects Home Page (ku.ac.th)

Gul Z, Monga M. Medical and dietary therapy for kidney stone prevention. Korean J Urol. 2014;55(12):775-9.

Özcan MM, Ghafoor K, Al Juhaimi F, Uslu N, Babiker EE, Mohamed Ahmed IA, et al. Influence of drying techniques on bioactive properties, phenolic compounds and fatty acid compositions of dried lemon and orange peel powders. J Food Sci Technol. 2021;58(1):147-58.

Figuerola F, Hurtado ML, Estévez AM, Chiffelle l, Asenjo F. Fibre concentrates from apple pomace and citrus peel as potential fibre sources for food enrichment. Food Chem. 2005;91(3):395-401.

Yatao X, Saeed M, Kamboh AA, Arain MA, Ahmad F, Suberyani I, et al. The potentially beneficial effect of supplementation with hesperidin in poultry diet. World's Poult Sci J. 2018;74(2):265-276.

สุนีย์ จันทร์สกาว และ ไชยวัฒน์ ไชยสุต. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่มีคุณสมบัติต้านออกซิเดชั่นจากเปลือกส้มและเปลือกมะนาวโดยกระบวนการหมักเชื้อรา. รายงานฉบับสมบรูณ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2550.

Kumar R, Bala KL, Kumar A. Study on development of value added product from citrus peel. The Allahabad Farmer Journal. 2015;70(2):39-44.

Roy J, Roy S, Ali MJ, Hossain MR, Sarker MSH. Effect of drying temperature on physiochemical properties of powder from blanched and unblanched lemon peel and sensory quality evaluation of the powder fortified biscuits. J Food Engr Technol. 2021;10(1):9-18.

Çilingir S, Goksu A, Sabanci S. Production of pectin from lemon peel powder using ohmic heating-assisted extraction process. Food Bioproc Tech. 2021;14(7):1349-60.

Peerajit P, Chiewchan N, Devahastin S. Effects of pretreatment methods on health-related functional properties of high dietary fibre powder from lime residues. Food Chem. 2012;132(4):1891-8.

ธรรมรัตน์ รุ่งสังข์. ผลของอุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการลวกต่อปริมาณลิโมนินและวิตามินซีในมะนาวพันธุ์แป้น. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2551. 101 หน้า.

Nobakht A. Effects of different levels of dries lemon (Citrus aurantifulia) pulp on performance, carcass traits, blood biochemical and immunity parameters of broilers. Iran J Appl Anim Sci. 2013;3(1):145-51.

Ani PN, Abel HC. Nutrient, phytochemical, and antinutrient composition of Citurs maxima fruit juice and peel extract. Food Sci Nutr. 2018;6(3):653-8.

Al-Dalali S, Zheng F, Al-Farga A. Prolonged the shelf life of different foods using the Citrus by-product as antimicrobial: a review article. Annals of Agricultural and Crop Sciences. 2019;4(1):1039.

Rafiq S, Kaul R, Sofi SA, Bashir N, Nazir F, Nayik GA. Citrus peel as a source of functional ingredient: A review. J Saudi Soc Agric Sci. 2018;17(4):351-8.

Rao J, McClements DJ. Impact of lemon oil composition on formation and stability of model food and beverage emulsion. Food Chem. 2012;134(2):749-57.

วนิสา รุ่งพาณิชย์ และ ทานตะวัน พิรักษ์ 2560. การศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบจากเปลือกส้มเขียวหวานและเปลือกมะนาว. รายงานการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 สาขาอุตสาหกรรมเกษตร.

อดุลย์มาน สุขแก้ว, ดาริกา จาเอาะ, สุนิตย์ โรจนสุวรรณ และ อีลีหยะ สุนิโซ. ผลของการเอนแคบซูเลชั่นสารสกัดหยาบจากเปลือกมะนาว (Citrus aurantifolia (christm)) ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Bacillus cereus ATCC 11778 และ Pseudomonas fluorescens TISTR 358. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 6 เรื่อง สร้างสรรค์งานวิจัยเพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนในยุค Thailand 4.0 (วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตรนวัตกรรม) มหาวิทยาลัยฟาฎอนีร่วมกับเครือข่ายความร่วมมือมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์และมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ปิยะรัตน์ โตสุโขวงศ์, สุภาพร จิรไกรโกศล, วีรพัฒน์ อเนกกมล, พิสิฏฐ์ ประพันธ์วัฒนะ และ ฐสิรัส ดิษยบุตร. 2563. ประโยชน์ของสารเฮสเพอริดินในเปลือกมะนาวและความเป็นไปได้ในการศึกษาทางคลีนิกเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายงานจากเอกสารออนไลน์ http://biochem.md.chula.ac.th

Haggag YA, El-Ashmawy NE, Okasha KM. Is hesperidin essential for prophylaxis and treatment of COVID-19 Infection? Med Hypotheses J. 2020;144:109957.

Yari Z, Movahedian M, Imani H, Alavian SM, Hedayati M, Hekmatdoost A. The effect of hesperidin supplementation on metabolic profiles in patients with metabolic syndrome: a randomized, double-blind, placebo-controlled clinical trial. Eur J Nutr. 2020;59:2569-77.