ความท้าทายในการเปลี่ยนแปลงระบบอาหารเพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน

摘要

การรับมือกับปัญหาภาวะทุพโภชนาการในทุกรูปแบบเป็นหนึ่งในความท้าทายครั้งสำคัญของการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขในแต่ละประเทศตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน การเกิดปัญหาด้านโภชนาการตั้งแต่วัยเด็กหรือตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจะยิ่งเพิ่มความเสี่ยงของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ภาวะทุพ-โภชนาการมักมีสาเหตุพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับปัญหาความยากจน การขาดเสถียรภาพด้านอาหาร และการขาดความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารที่มีผลดีต่อสุขภาพในระยะยาว รัฐบาลจึงจำเป็นต้องพัฒนาระบบอาหารที่ยั่งยืนเพื่อรับรองความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการสำหรับประชาชน รวมทั้งมีมาตรการในการเฝ้าระวังโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการขาดสมดุลทางด้านโภชนาการ ได้แก่ ผู้หญิง เด็กทารก เด็กวัยเรียน และเด็กวัยรุ่น หากปัญหาภาวะทุพโภชนาการไม่ได้รับการป้องกันและแก้ไข จะทำให้ภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของครัวเรือนสูงขึ้นและเกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ วงจรของความยากจนและความเจ็บป่วยอย่างเรื้อรังนี้สามารถส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญ

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

栏目
Review Articles

参考

WHO. Malnutrition. [Internet]. 2024 [cited 2024 Mar 21]. Available form: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/malnutrition

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. รายงานประจำปี 2565 เฝ้าระวังทางโภชนาการ. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก https://nutrition2.anamai.moph.go.th/web-upload/6x22caac0452648c8dd1f534819ba2f16c/202303/m_magazine/37955/4261/file_download/13affb4dde0d884d8536cb0096eecca9.pdf

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เส้นทางประเทศไทยสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารเศรษฐกิจและสังคม 2560; 54(4): 1-64.

เครือข่ายวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศไทย. Sustainable development goals. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 27 มี.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/

IFPRI. Green revolution: curse or blessing? [Internet]. 2002. [cited 2024 Mar 28]. Available form: https://www.ifpri.org/cdmref/p15738coll2/id/64639/filename/64640.pdf

Kennedy E, Raiten D, Finley J. A view to the future: opportunities and challenges for food and nutrition sustainability. Curr. Dev. Nutr. 2020;4(4):1-3.

FAO. 2023. Contribution of terrestrial animal source food to healthy diets for improved nutrition and health outcomes – An evidence and policy overview on the state of knowledge and gaps. Rome, FAO. https://doi.org/10.4060/cc3912en

Gupta PM, Perrine CG, Mei Z, Scanlon KS. Iron, anemia, and iron deficiency anemia among young children in the United States. Nutrients. 2016;8:330.

Varzakas T, Smaoui S. Global food security and sustainability issues: the road to 2030 from nutrition sustainable health diets to food system change. Foods. 2024;13(2):1-29.

Neuenschwander M, Stadelmaier J, Eble J, Grummich K, Szczerba E, Kiesswetter E, et al. Substitution of animal-based with plant-based foods on cardiometabolic health and all-cause mortality: a systematic review and meta-analysis of prospective studies. BMC Med. 2023;21(404):1-16.

Alcorta A, Porta A, Tarrega A, Alvarez MD, Vaquero M. Foods for plant-based diets: challenges and innovations. Foods. 2021;10(2):1-23.

Filho PF, Andersson D, Ferreira JA, Taherzadeh MJ. Mycoprotein: environmental impact and health aspects. World J Microbiol Biotechnol. 2019;35(147):1-8.

Gibas-Dorna M, Zukiewicz-Sobczak W. Sustainable nutrition and human health as part of sustainable development. Nutrients. 2024;16(2):225.

FAO/WHO. United Nations decade of action on nutrition 2016-2025: priority actions on nutrition for the next five years. [Internet]. 2021. [Cited 2024 Mar 28]. Available form: https://www.fao.org/3/cb9467en/cb9467en.pdf