โฉนดที่ดิน ส.ป.ก. เมื่อพ่วงกับค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนที่ดินเกษตรไปเป็นที่ดินประเภทอื่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ได้นำเสนอกรอบวิธีศึกษาในเชิงพลวัตเพื่อใช้วิเคราะห์ผลของการเก็บค่าธรรมเนียมการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินเกษตรกรรม ส.ป.ก. ที่มีโฉนดแล้วเพื่อป้องกันไม่ให้ที่ดินเกษตรกรรมถูกเปลี่ยนแปลงไปใช้ทำประโยชน์ในรูปแบบอื่น ผลการศึกษาได้ยืนยันว่า การเก็บค่าธรรมเนียมที่สูงจะยิ่งเลื่อนจุดเวลาในการเปลี่ยนแปลงที่ดินเกษตรกรรมไปเป็นอย่างอื่นนั้นให้ยิ่งห่างไกลออกไปในอนาคต การศึกษานี้ได้ประยุกต์ใช้แนวคิดเรื่องการหาจุดเวลาที่เหมาะสมในการลงทุนพัฒนามาประยุกต์ใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ที่ดิน ส.ป.ก. ที่ได้รับมอบโฉนดแล้ว ต้องถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นการใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่นที่มากจนเกินไป
Downloads
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เอกสารอ้างอิง
ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2566). หนังสือฉบับอ่านง่ายเรื่อง ระบบกำกับดูแลที่ดินของไทย. สนับสนุนโดย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.).
ภาวิณี อุดมใหม่, ธารทิพย์ ศรีสุวรรณเกศ, ใบตอง รัตนขจิตรวงศ์, และ อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์. (2565). โครงการการศึกษาเพื่อทบทวนหลักเกณฑ์การจัดที่ดินทำกินเพื่อเกษตรกรรมให้ชุมชนในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.
อารยะ ปรีชาเมตตา. (2566). ภาษีที่ดินรกร้างและการใช้ประโยชน์ที่ดินภายใต้ความไม่แน่นอน. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 10(1), 1-14.
Broegaard, R.B. (2009). Land Titling and Tenure Security in the Context of Inequality. Danish Institute for International Studies.
Capozza, D. & Yuming, L. (1994). The Intensity and Timing of Investment: The Case of Land. American Economic Review, 84 (4), 889-904.
Chalamwong, Y. & Feder, G. (1988). The Impact of Land Ownership Security: Theory and Evidence from Thailand. The World Bank Economic Review, 2(2), 187-204.
Chankrajang, T. (2015). Partial Land Rights and Agricultural Outcomes: Evidence from Thailand. Land Economics, 91(1), 126-148.
Chaoran, C. (2017). Untitled Land, Occupational Choice, and Agricultural Productivity. American Economic Journal: Macroeconomics, 9(4), 91-121.
Deininger, K., Ali, D.A., & Alemn, T. (2009). Impacts of Land Certification or Tenure Security, Investment and Land Markets: Evidence from Ethiopia. Environment for Development, Discussion Paper Series.
Dixit, A. & Pindyck, R. (1994). Investment under Uncertainty. Princeton University Press, New Jersey, USA.
Do, Q-T. & Lakshmi, I. (2008). Land Titling and Rural Transition in Vietnam. Economic Development and Cultural Change, 56(3), 531-579.
Godber, T. & Tatwangire, A. (2017). Understanding Changing Land Access Issues for the Rural Poor in Uganda. National Resource Management, Research Report.
Grimm, M. & Stephan, K. (2015). Migration Pressure, Tenure Security, and Agricultural Intensification: Evidence from Indonesia, Land Economics, 91(3), 411-434.
Ramsay, J.A. (1982). The limits of Land Reform in Thailand. The Journal of Developing Areas, 16(2), 173-196.
Rock County, Wisconsin. (2023). Agricultural Use Conversion. Retrieved from www.co.rock.wi. us/departments/treasurer/agricultural-use-conversion
Zhao, Y. (2011). China’s Land Tenure Reform: Time for a New Direction? The China Review, 11(2),125-152.