ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์
关键词:
การบริหารวิชาการ, ความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์, ความต้องการจำเป็น , Academic Management, Artificial Intelligence Literacy, Priority Needs摘要
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์ และ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์ ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น (PNIModified) โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 รวมจำนวน 280 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์ จำแนกตามขอบข่าย
การบริหารวิชาการอยู่ในระดับปานกลางและมากที่สุด ตามลำดับ ในส่วนสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์ จำแนกตามองค์ประกอบความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์อยู่ในระดับปานกลางและมากที่สุด ตามลำดับ 2) ความต้องการจำเป็นสูงสุดในการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่ม 2 ตามแนวคิดความฉลาดรู้ปัญญาประดิษฐ์ คือ การวัดและประเมินผล
Downloads
参考
AI Thailand. (2022). National Artificial Intelligence Action Plan for Thailand's Development (2022-2027). Ministry of Digital Economy and Society
Chaemchoy, S. (2022). Academic Administration Responsive to Global Changes in an Era of Disruption. Chulalongkorn University Press.
Hillier, M. (2023). A Proposed AI Literacy Framework. TECHE. https://teche.mq.edu.au/2023/03/a-proposed-ai-literacy-framework/. [Translated]
Kaewurai, W. (2021). Curriculum Development: From Theory to Practice. Naresuan University Press.
Kanok-Nukulchai, W. (2023). The Age of AI Has Arrived: Is Thailand Ready? Chulalongkorn University Prepares for Change and Pioneers the Use of Generative AI in Teaching and Learning. https://www.chula.ac.th/highlight/129132/
Kong Siu-Cheung, Cheung William Man-Yin, & Zhang Guo. (2023). Evaluating an artificial intelligence literacy programme for developing university students’ conceptual understanding, literacy, empowerment and ethical awareness. Educational Technology & Society, 26(1), 16-30. https://www.jstor.org/stable/48707964. [Translated]
Ng Davy Tsz Kit, Leung Jac Ka Lok, Su Maggie Jiahong, Yim Iris Heung Yue, Qiao Maggie Shen, & Chu Samuel Kai Wah. (2023). AI literacy in K-16 classrooms. Springer. https://link.springer.com/book/10.1007/978-3-031-18880-0. [Translated]
Office of the Education Council. (2020). Artificial Intelligence for Enhancing Learning. https://www.thailibrary.in.th/wp-content/uploads/2023/11/ai-edu.pdf
Oxford Insights. (2023). Government AI Readiness Index 2022. Hikama. https://static1.squarespace.com/static/58b2e92c1e5b6c828058484e/t/639b495cc6b59c620c3ecde5/1671121299433/Government_AI_Readiness_2022_FV.pdf. [Translated]
Phuphasert, K. (2011). Educational Administration in Educational Institutions. Tips Publication Co., Ltd.
Policy and Planning Division of The Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1. (2023). Basic Education Development Plan, BMAEO1 (2023 – 2027). The Secondary Educational Service Area Office Bangkok 1
Poonphon, R. (2023). Driving KBTG Towards an AI-First Company with The State of M.A.D. as a Strong Foundation. https://www.blognone.com/node/135881
Southworth Jane, Migliaccio Kati, Glover Joe, Reed David, McCarty Christopher, Brendemuhl Joel, & Thomas Aaron. (2023). Developing a model for AI Across the curriculum: Transforming the higher education landscape via innovation in AI literacy. Computers and Education: Artificial Intelligence, 4, 100-127. https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S2666920X23000061. [Translated]
Tarasrisut, P. (2007). Academic Management and Administration. Ramkhamhaeng University.
Downloads
已出版
期
栏目
License
Copyright (c) 2024 วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.