Announcements

แจ้งเปลี่ยนแปลงเว็บไซต์ วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2024-01-23

Current Issue

Vol. 10 No. 2 (2023): July - December
					View Vol. 10 No. 2 (2023): July - December
Published: 2023-12-31

บทความวิจัย

View All Issues

 Focus and Scope

            วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นวารสารที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัย ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตลอดจนประสบการณ์ให้แก่นิสิตในระดับบัณฑิตศึกษา คณาจารย์ นักวิจัย โดยมีขอบเขตครอบคลุมสาขาที่เกี่ยวข้องกับด้านศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ ได้แก่ การบัญชี การเงิน การบริหาร การจัดการ การตลาด เศรษฐศาสตร์ การจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว รัฐประศาสนศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ พลศึกษาและวิทยาศาสตร์การกีฬา และสหวิทยาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

Peer Review Process 

           ผู้พิจารณาไม่ทราบชื่อผู้แต่ง และผู้แต่งไม่ทราบชื่อผู้พิจารณา (Double-blind peer review)

Open Access Policy

          This journal provides immediate open access to its content on the principle that making research freely available to the public supports a greater global exchange of knowledge.

Sources of Support

         คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

Journal History

         วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฉบับปฐมฤกษ์ เริ่มจัดทำขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2557 โดยเผยแพร่ปีละ  2 ฉบับ (ราย 6 เดือน) ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มุ่งมั่นที่จะเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อสนับสนุนการแลกเปลี่ยนและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้แก่นักวิจัย อาจารย์ นิสิตนักศึกษา ตลอดจนผู้สนใจใช้ผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง และในปัจจุบันวารสารฯ ได้รับการรับรองให้อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (พ.ศ. 2563-2567) และดำเนินการเผยแพร่ผลงานวิชาการทั้งแบบรูปเล่มและแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า E-journal เพื่อผู้อ่านสามารถเข้าถึง สืบค้นข้อมูลตามฐานข้อมูลออนไลน์  และดาวน์โหลดบทความมาอ่านบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ได้ตลอดเวลา  และยังเป็นการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยได้อย่างกว้างขวางมากขึ้น