ผลการฝึก ผลการฝึกตามชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1

Main Article Content

ชนายุทธ์ ไกรวิจิตร
วินัย พูลศรี
ศุภวรรณ วงศ์สร้างทรัพย์

摘要

 การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลการฝึกก่อนและหลังการฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น และศึกษาความพึงพอใจนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ต่อชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลของกลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน โรงเรียนวัดครุใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการเขต 1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น ประกอบด้วย ชุดฝึกทักษะการเลี้ยงลูกฟุตซอล ชุดฝึกทักษะการรับส่งลูกฟุตซอล ชุดฝึกทักษะการยิงประตู แบบทดสอบทักษะฟุตซอล และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที t-test (One Sample)


      ผลการวิจัยพบว่า 1. ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอล เรื่อง การฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น โดยใช้แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอล จำนวน 3 ชุด ทักษะการเลี้ยงลูกฟุตซอล ทักษะการรับส่งลูกฟุตซอล และทักษะการยิงประตู พบว่า หลังการฝึกนักเรียน มีค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสูงกว่าก่อนการฝึก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น มีคุณภาพและสามารถพัฒนาทักษะกีฬาฟุตซอลของนักเรียนให้สูงขึ้นได้ 2. ผลการเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียน พบว่า หลังการฝึกโดยใช้ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น สูงกว่าก่อนการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาฟุตซอลด้วย กระบวนการปฏิบัติ 5 ขั้น โดยรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

栏目
บทความวิจัย

参考

Chueachanad Y. (2015). Development of physical education learning models in practical skills For Mathayom 3 students. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University,10 (2), 67-73.

Homklin P. (2016). Developing basic football playing skills using a set of learning activities that emphasize practical skills. Grade 6 [ Bachelor of Education Thesis, Maha Sarakham Rajabhat University, Maha Sarakham].

Horakul C. (2011). Development of basic football skills training Health education and physical education learning group Mathayom 1 level [Master of Education Thesis, Maha Sarakham Rajabhat University, Maha Sarakham].

Khaemmanee T. (2016). The science of teaching knowledge for organizing an effective learning process (20th printing ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Press.

Kraithong A. (2013). Development of futsal skill training kits for 6th grade students Under the jurisdiction of the Nonthaburi Educational Service Area Office, Area 1 [Master of Education Thesis, Chandrakasem Rajabhat University].

Krawanrat C. (2014). Exercise format with alternating intensity and lightness. Bangkok: Kasetsart University Press.

Kunaphisit W. (2021). Has physical education been reformed in educational institutions yet. Journal of Health, Physical Education and Recreation, 47 (2), 1-19.

Prawech C. and Na Wichian S. (2018). Innovative work Behavior : Concept, Antecedents and Challenges. Journal of Behavioral Science for Development, University Botanical Research Institute Rarisrinakarinwirot, 10 (1), 25-41.

Sakwised R. (2018). Development of futsal skill training sets Health education learning group and physical education For 4th grade students. Nakhon Phanom University Journal, 3(2), 27-32.

Srirat K. (2018). Development of basic football skills and achievement The academic performance of Mathayom 4 students By organizing peer-to-peer group learning [Master of Education Thesis, Maha Sarakham Rajabhat University] .

Thongnak S. (2015). Developing a set of activities to practice basic handball skills using a learning model. Teach Davies practical skills For junior high school students Thaklaeng Secondary School Chanthaburi Province [Master's Thesis, Rambhaibarni Rajabhat University].

Thungkam P. (2015). Using the cartoon picture book "We Save Water" to develop learning achievement in science using cooperative learning theory. For Grade 3 students at Hua Dong Municipal School (P.Fak Angkun) [Master's Thesis, Uttaradit Rajabhat University].

Most read articles by the same author(s)